Page 107 - kpi22173
P. 107

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                  5.1 สถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในประเทศไทยโดยสังเขป


                         การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 (COVID-19) เปนการแพรระบาด

                  ครั้งใหญที่สงผลกระทบตอนานาประเทศทั่วโลกอยางมหาศาล ดังที่ อังเกลา แมรเคิล นายกรัฐมนตรี

                  เยอรมนี  ไดออกมาประกาศตอประชาชนเยอรมนีวาการแพรระบาดของโรค COVID-19 เปนความทาทาย
                  อันยิ่งใหญที่สุดนับแตสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่เยอรมนีเผชิญมา โดยการระบาดเกิดขึ้นครั้งแรกในเมืองอูฮั่น

                  เมืองเอกของมณฑลหูเปย สาธารณรัฐประชาชนจีน ชวงปลายป พ.ศ. 2562  สวนการระบาดของโรค

                  COVID-19 ในประเทศไทย ปรากฏครั้งแรกวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2563 ซึ่งถือวาเปนประเทศแรกที่พบ

                  การแพรระบาดนอกจีนแผนดินใหญ แตสามารถคัดกรองไดที่สนามบินสุวรรณภูมิ ตอมาเมื่อวันที่ 31

                  มกราคม พ.ศ. 2563 ปรากฏการแพรเชื้อภายในประเทศรายแรกและจํานวนผูปวยเพิ่มขึ้นมากใน

                  กลางเดือนมีนาคม สาเหตุจากกลุมการแพรเชื้อหลายกลุม โดยเฉพาะวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2563 ผูปวย

                  ยืนยันแลวเพิ่มเกิน 100 คนตอวัน ในอีก 1 สัปดาหตอมา ลวนเกี่ยวพันกับกลุมที่เขารวมชมการแขงขัน
                  ชกมวยไทย ณ สนามมวยเวทีลุมพินีทั้งสิ้น แตเนื่องจากในการแพรระบาดระลอกแรกนี้ มีการปดกั้น

                  พรมแดนและการเขาออกประเทศอยางทันทวงที  อีกทั้งประชาชนใหความรวมมือและตระหนักรู มีวินัยใน

                  การปฏิบัติตามมาตรการสุขอนามัย รวมไปถึงบทบาทของ อสม. ในระดับชุมชนมีการปฏิบัติงานอยาง

                  เขมขน จึงทําใหสามารถจัดการไดเปนอยางดี เห็นไดจากในวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ทางศูนย

                  บริหารสถานการณโควิด-19 (สบค.) ไดประกาศวาไมพบการแพรระบาดภายในประเทศเปนวันแรก ซึ่งทํา
                  ใหเกิดความเชื่อมั่นตอระบบสาธารณสุขของไทยในการจัดการกับการแพรระบาดเปนอยางมาก และมัก

                  เปรียบเทียบกับประเทศตะวันตกที่มีระบบสาธารณสุขที่ดี แตไมสามารถจัดการกับการแพรระบาดไดดี

                  เทากับประเทศไทย ความมั่นอกมั่นใจนี้ เห็นไดจากการที่นายกรัฐมนตรีไดกลาวแสดงความยินดีที่ประเทศ

                  ไทยไมพบการแพรเชื้อภายในประเทศครบ 100 วัน  อยางไรก็ตาม การเฉลิมฉลองในกรณีนี้จําตองจบสิ้นลง

                  จากการแพรระบาดระลอกสองในชวงกลางเดือนธันวาคม พ.ศ. 2563 ในจังหวัดสมุทรสาครจากกลุม
                  คนงานอพยพผิดกฎหมาย


                         การตอบสนองตอการแพรระบาดของโรค COVID-19 ของรัฐบาลพลเอกประยุทธ อาศัยอํานาจ

                  ตามพระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ควบคูไปกับกฎหมายปกติหลาย

                  ฉบับ โดย พรก. การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ไดใหอํานาจรัฐบาลอยางกวางขวาง

                  และไมจํากัด โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธานสั่งการ และผูฝาฝน พรก. ดังกลาว มีโทษจําคุกไมเกิน 2 ป

                  และปรับไมเกิน 40,000 บาท รัฐบาลประยุทธพยายามสรางความชอบธรรมใหกับมาตรการของตนเองดวย
                  การยึดมั่นตอคําประกาศของตนเองวา “สุขภาพมากอนสิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล” อยางไรก็ตาม

                  บอยครั้งทางฝายรัฐบาลมักใชอํานาจตาม พรก. เพื่อหยุดยั้งการประทวงของประชาชนที่เกิดจากการที่




                                                           106
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112