Page 102 - kpi22173
P. 102

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                         จากตาราง 4.7 ผลการวิเคราะหความคิดเห็นดานปญหาและอุปสรรคในการแสวงหาสารสนเทศ

                  ทางดานสุขภาพของสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานตอการใหความรูแกชุมชนเพื่อปองกัน

                  เฝาระวังและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 พบวา ในภาพรวม
                  ปญหาและอุปสรรคในการแสวงหาสารสนเทศทางดานสุขภาพอยูในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ย 2.67)


                         อสม. มีปญหาและอุปสรรคในการแสวงหาสารสนเทศทางดานสุขภาพในระดับปานกลาง เรียง

                  ตามลําดับ ไดแก แหลงสารสนเทศทางดานสุขภาพอยูหางไกลจากที่พักอาศัยหรือจากสถานที่ทํางาน  ศูนย
                  สุขภาพชุมชน ศูนยบริการสาธารณสุขหรือโรงพยาบาล (คาเฉลี่ย 2.55) การเขาถึงแหลงสารสนเทศ

                  ออนไลนในการแสวงหาสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพไมสะดวก ยุงยาก ซับซอน (คาเฉลี่ย 2.57)

                  ขาดการติดตามขาวสารหรือความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสารสนเทศหรือแหลงสารสนเทศเพื่อการแสวงหา

                  สารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพอยางตอเนื่อง (คาเฉลี่ย 2.58)  ไมกลาพูดคุยหรือแลกเปลี่ยนความ
                  คิดเห็นเกี่ยวกับสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพกับบุคลากรทางการแพทย องคกรหรือหนวยงาน

                  อื่นๆ ที่เกี่ยวของได (วิตกกังวล ขาดความมั่นใจ) (คาเฉลี่ย 2.64)  ไมสามารถตรวจสอบความถูกตอง ความ

                  นาเชื่อถือของสารสนเทศทางดานสุขภาพที่แสวงหาไดดวยตนเอง (คาเฉลี่ย 2.67)  ไมสามารถแสวงหา
                  สารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพจากรูปแบบของการพูดคุยแนะนํา แลกเปลี่ยนระหวางบุคคลได

                  (เชน ไมกลา ขาดความมั่นใจ) (คาเฉลี่ย 2.75)   ไมสามารถแสวงหาสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพ

                  ไดดวยตนเอง (คาเฉลี่ย 2.80)   ขาดทักษะในการใชอุปกรณหรือเครื่องมือทางเทคโนโลยีในการแสวงหา
                  สารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพ (เชน สมารตโฟน (Smartphone)  ไอแพด (iPAD)  แท็บแล็ต

                  (Tablet) เปนตน) (คาเฉลี่ย 2.87)  รายไดหรือฐานะทางเศรษฐกิจเปนอุปสรรคในการจัดซื้ออุปกรณหรือ

                  เครื่องมือทางเทคโนโลยีในการแสวงหาสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพ (เชน สมารตโฟน
                  (Smartphone) ไอแพด (iPAD) แท็บแล็ต (Tablet) เปนตน) (คาเฉลี่ย 2.91)  ทั้งนี้อาจเปนเพราะ อสม.

                  บางรายมีรายไดหรือฐานะทางเศรษฐกิจไมสูงนัก ไมอาจจัดหาอุปกรณหรือเครื่องมือทางเทคโนโลยีที่

                  ทันสมัยสําหรับใชในการแสวงหาสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพได  อีกทั้ง อสม. สูงอายุบางราย
                  อาจจะขาดทักษะในการใชอุปกรณหรือเครื่องมือทางเทคโนโลยีในการแสวงหาสารสนเทศหรือความรู

                  ทางดานสุขภาพ  ดังนั้นจึงอาจทําให อสม. มีปญหาและอุปสรรคในการแสวงหาสารสนเทศทางดานสุขภาพ

                  ในระดับปานกลาง  สวนปญหาและอุปสรรคในการแสวงหาสารสนเทศทางดานสุขภาพในระดับนอยคือ

                  ขาดอุปกรณหรือเครื่องมือทางเทคโนโลยีในการแสวงหาสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพ (เชน
                  สมารตโฟน (Smartphone) ไอแพด (iPAD) แท็บแล็ต (Tablet) เปนตน) (คาเฉลี่ย 2.44)  ไมทราบแหลง

                  สารสนเทศในการแสวงหาสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพ (คาเฉลี่ย 2.49)  ผลการศึกษานี้ยืนยันวา

                  อสม. สวนใหญมีอุปกรณหรือเครื่องมือทางเทคโนโลยีในการแสวงหาสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพ
                  และพฤติกรรมในการแสวงหาสารสนเทศทางดานสุขภาพที่เหมาะสม






                                                           101
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107