Page 109 - kpi22173
P. 109

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                         5.1.1 การปองกันการแพรเชื้อในพื้นที่


                             1) การสื่อสารดานสุขภาพ (Health communication)  การสื่อสารดานสุขภาพมีผูเขามา

                  เกี่ยวของจํานวนมาก การตอบสนองของโรค COVID-19 ระดับชาตินั้นรวมถึงการสื่อสารภาคสาธารณะ

                  บริหารจัดการโดย “ศูนยบริหารสถานการณโควิด-19 (ศบค.)” (Centre for COVID-19 Situation
                  Administration (CCSA)) ที่จัดตั้งโดยคําสั่งสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ 76/2563 ลงวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ.

                  2563 (สํานักนายกรัฐมนตรี, 2563) โดยในขณะนั้นมีการยืนยันผูติดเชื้อจํานวน 70 ราย การดําเนินงาน

                  ในสวนของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ดําเนินการผานโครงสรางการทํางานของศูนยปฏิบัติการ

                  ภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operations Centre (EOC)) นําโดยปลัดกระทรวงสาธารณสุขในการสราง

                  เนื้อหาเชิงวิชาการ การนําเสนอขาวสารประจําวันตอสาธารณชนและมีการถายทอดทั่วประเทศ  มีโฆษกคือ

                  จิตแพทย นายแพทยทวีศิลป วิษณุโยธิน ดวยทวงทาการยืนนําเสนอและใชวาทศิลปยิ้มแยมนุมนวลและ

                  อบอุนตามวิธีการทางจิตวิทยาเพื่อการผูกมิตร จนกลายเปนไอคอนหลักในการสื่อสารตอสาธารณะเพื่อ
                  สนองตอบตอการแพรระบาดของโรค COVID-19 การรายงานประจําวันของ ศบค. สรางความเชื่อมั่นใหแก

                  สาธารณชนทั่วไปในการใชมาตรการแทรกแซงเพื่อหยุดยั้งการแพรระบาด ถึงแมวาในชวงหลังมานั้นมีการ

                  วิพากษวิจารณการทํางานของโฆษก ศบค. วาแสดงความเห็นสวนตัวเพื่อเอาใจรัฐบาลจนเกินความเปนจริง

                  และขัดตอสายตาประชาชนจํานวนมากจนตองออกมาประกาศถอนตัวจากการเปนโฆษกในเวลาตอมา

                             เนื้อหาในการสื่อสารสาธารณะเปนการสรุปยอรายวัน แนวโนมการแพรระบาด (Daily brief)

                  จํานวนผูติดเชื้อที่ไดรับการยืนยันแลว จํานวนผูเสียชีวิต การตรวจพิสูจนการติดเชื้อและสถานการณทั่วโลก

                  การนําเสนอขอมูลขาวสารดังกลาวไดสรางความตระหนักรูถึงความรุนแรงของสถานการณและวิธีการ

                  ที่ประเทศไทยดําเนินการตามแนวทางระหวางประเทศและวิธีการที่ประชาชนควรดําเนินการเพื่อเฝาระวัง

                  การแพรระบาดของโรค COVID-19 สามารถเขาถึงขาวสารไดหลายชองทาง เชน
                                 - ทางเว็บไซต https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/29299

                                 - ชองทางเฟซบุก กรมประชาสัมพันธที่ https://www.facebook.com/informationcovid19

                  ขอมูลขาวสารมีหลายภาษา เชน ไทย อังกฤษ พมา ลาว เขมร และจีน เปนตน ดวยการดําเนินการดังกลาว

                  เปนการสรางความรูความเขาใจของประชาชนเกี่ยวกับโรค การติดตอของโรคและวิธีการปองกันการติดเชื้อ

                  และหยุดการแพรเชื้อในพื้นที่ เปนตน รัฐบาลไดรองขอใหประชาชนสวมใสหนากาก เวนระยะหางทาง

                  กายภาพ 2 เมตร และดําเนินการตามมาตรการอนามัยอยางเครงครัด เชน การลางมือดวยแอลกอฮอลเจล

                  และสบูอยางสม่ําเสมอ หลีกเลี่ยงการสัมผัสจมูกและใบหนาและรับประทานอาหารถูกสุขอนามัยตาม
                  มาตรการปองกันการแพรเชื้อ ใหประชาชนอยูบานระหวางเดือนเมษายน พ.ศ. 2563 ในชวงการล็อกดาวน

                  ประเทศ อันเปนการระงับกิจกรรมทางสังคมในที่สาธารณะ เทศกาลสงกรานตระหวางวันที่ 13-15 เมษายน




                                                           108
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114