Page 114 - kpi22173
P. 114

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”




                             ในการบริหารจัดการวิกฤติการณโรค COVID-19 ของรัฐบาลที่มีรากเหงาของเครือขายมาจาก

                  การรัฐประหารของพลเอกประยุทธ จันทรโอชา ถูกประชาชนวิพากษวิจารณอยางหนักหนวงจากขาว

                  อื้อฉาวการทุจริตคอรัปชันและความดอยประสิทธิภาพในการรับมือวิกฤติการณในหลายดาน ในชวงตน

                  เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2563 เชน การกักตุนและโกงราคาขายหนากากอนามัย การควบคุมราคาและ

                  แทรกแซงการจัดจําหนายของรัฐบาล แตยังไมสามารถปองกันการขาดแคลนตามโรงพยาบาลตางๆ ได และ

                  เกิดขอสงสัยวามีการฉอราษฎรบังหลวงและลักลอบเอาจากคลัง และขอตําหนิรัฐบาลในนโยบายการออก
                  ขอกําหนดในการเดินทางระหวางประเทศและการกักกันโรค ความไมเด็ดขาดและลาชา การสื่อสารที่

                  ไมคงเสนคงวา การสั่งปดธุรกิจหางรานในกรุงเทพมหานครโดยกะทันหัน สงผลใหประชาชนหลายหมื่นคน

                  เดินทางกลับภูมิลําเนา ยิ่งทําใหเสี่ยงตอการแพรเชื้อ ถึงแมวาประเทศไทยคอนขางประสบความสําเร็จ

                  ในการควบคุมโรคระบาด แตก็มาจากปจจัยเกื้อหนุน ไดแก โครงสรางพื้นฐานดานสาธารณสุขที่มีการ

                  วางรากฐานมาอยางดีมาหลายทศวรรษแลว แตกรณีรัฐบาลสั่งซื้อวัคซีนในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2563

                  แตถูกตั้งขอสังเกตในประเด็นเรื่องราคาและการไดรับสิทธิในการผลิตวัคซีน AstraZeneca ของบริษัท
                  สยามไบโอไซเอนซ จํากัด พรอมเงินทุนสนับสนุนในการเตรียมพรอมการผลิตหลายรอยลานบาทจากรัฐบาล

                  ในสวนของเครือเจริญโภคภัณฑซึ่งเปนหุนสวนผลิตวัคซีน Sinovac ของจีนและมีขอกังขาวามีการล็อบบี้

                  เพื่อใหไดโควตาการนําเขาแบบเฉพาะเจาะจงและคุณภาพวัคซีน Sinovac ของจีนที่มีคุณภาพต่ํากวา แตมี

                  ราคาแพงกวาหรือเทากัน ซึ่งถูกมองวาไมสมเหตุผล การระบาดของโรค COVID-19 ครั้งนี้สงผลกระทบทาง

                  เศรษฐกิจอยางมหาศาล โดยเฉพาะอยางยิ่งภาคการทองเที่ยวซึ่งเปนรายไดหลักของประเทศ โดยกองทุน
                  การเงินระหวางประเทศ (IMF) ออกรายงานฉบับปรับปรุงจีดีพีโลกป พ.ศ. 2563 ปรับขึ้นเปนหดตัว 4.4%

                  เมื่อเทียบชวงเดียวกันปกอน ซึ่งแตเดิมคาด -4.9% เนื่องจากการปรับเพิ่ม GDP ในกลุมประเทศพัฒนาแลว

                  ดีขึ้น อาทิ สหรัฐอเมริกา ยุโรปและญี่ปุน จีน เปนตน สวนในประเทศไทย IMF ปรับเพิ่ม GDP ป พ.ศ. 2563

                  เหลือหดตัว -7.1% (เดิมคาด -7.7%) สวนป พ.ศ. 2564 โดยสวนใหญปรับคาดการณลงจากที่เคย

                  คาดการณไวกอนหนา (ประชาชาติธุรกิจ, 2563) ถึงแมวารัฐบาลจะประกาศมาตรการชวยเหลือหลายอยาง

                  รวมทั้งการกูเงินเพื่อกระตุนเศรษฐกิจมูลคา 1.9 ลานลานบาท แตมีผูไดรับการชวยเหลือจํานวนนอยและ

                  เหมือนเปนการชิงโชคที่ตองพิสูจนความจนของตนเอง จนเปนสาเหตุหนึ่งที่ลุกลามเกิดการประทวงดังที่
                  ปรากฏ
















                                                           113
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119