Page 116 - kpi21588
P. 116

ร่างรายงาน บทบาทของพลเมืองในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเลือกตั้งที่ไม่สุจริตเที่ยงธรรม เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของประชาธิปไตยไทย   7-24



                                     1) มีเพียงการแนะน ากันเป็นการส่วนตัวถึงผลกระทบจากการซื้อสิทธิ์ขายเสียง โดยบอกคนใน

                                        ครอบครัวและเครือญาติ
                                     2) มีการอบรมผู้น าชุมชนโดย กกต. ให้เข้าใจกฎหมายเกี่ยวกับการกระท าความผิดในการ

                                        เลือกตั้ง ว่ามีกรณีใดบ้าง ซึ่งส่วนใหญ่ผู้น าชุมชนที่เข้ารับการอบรมคือผู้ที่เป็นหัวคะแนน

                                        ท าให้หัวคะแนนมีความรู้ทางกฎหมายมากขึ้น ผลในทางตรงกันข้ามคือ หัวคะแนนเหล่านี้
                                        สามารถหาช่องทางเลี่ยงกฎหมายหรือกระท าผิดกฎหมายด้วยความระมัดระวัง

                                     3) เคยมีองค์กรเอกชนตรวจสอบการเลือกตั้งแต่ไม่สามารถด าเนินงานป้องกันการซื้อสิทธิ์ขาย
                                        เสียงได้

                              4.2 อุปสรรคของประชาชนในการส่งเสริมการเลือกตั้งที่สุจริต
                                     1) การซื้อสิทธิ์ขายเสียงกลายเป็นค่านิยมที่เป็นบรรทัดฐานของพฤติกรรมการเลือกตั้งที่เป็นที่

                                        ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า เมื่อมีการเลือกตั้ง ต้องมีการซื้อเสียง จนกลายเป็นเรื่องปกติ

                                     2) ความกลัว ไม่กล้าเป็นพยาน เนื่องจากไม่มีหลักประกันในความปลอดภัย ไม่มีกฎหมาย
                                        คุ้มครอง และไม่มีระบบสนับสนุนในกรณีที่ต้องเป็นพยาน หรือเป็นผู้แจ้งเบาะแสการซื้อ

                                        สิทธิ์ขายเสียง

                                     3) ความสิ้นหวังกับการเลือกตั้ง มองไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง เลือกไปก็มีพฤติกรรมซ้ าซากของ
                                        นักการเมือง เลือกไปก็เหมือนเดิม ขอรับเงินซื้อเสียงไว้ดีกว่า

                                     4) ผู้รักษากฎหมายหรือระบบกฎไม่มีประสิทธิภาพ ไม่มีการจับกุมการซื้อสิทธิ์ขายเสียง และ
                                        การพิจารณาตัดสินใบเหลืองใบแดงล่าช้า

                                     5) ไม่มีผู้น าชุมชนหรือภาพประชาสังคมที่มีอุดมการณ์ในการต่อต้านการซื้อสิทธิ์ขายเสียงมา
                                        เป็นผู้น าหรือองค์กรน าในการส่งเสริมการเลือกตั้งที่สุจริต



                              5. แนวทางในการป้องกันการซื้อสิทธิ์ขายเสียง
                              5.1 การให้ความรู้และอบรมสั่งสอนกันเองภายในครอบครัว

                              5.2 การให้ความรู้ รณรงค์และอบรมถึงโทษหรือผลกระทบของการซื้อสิทธิขายเสียง
                              5.3 มีความเข้มงวดในการบังคับใช้กฎหมาย หากพบว่ามีการซื้อเสียง ให้มีการตัดสิทธิ์เลือกตั้ง

                              5.4 การสร้างเครือข่ายต่อต้านการซื้อสิทธิ์ขายเสียง หาคนที่มีอุดมการณ์ ดึงเอา อสม. มาเป็นเครือข่าย

                                  ด าเนินกิจกรรมการรณรงค์อย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่เฉพาะในช่วงการเลือกตั้ง จัดตั้งกลุ่มไลน์
                                  facebook สื่อสาร

                              5.5 ปรับเปลี่ยน อสม. จากหัวคะแนนมาเป็นผู้เฝ้าระวังการซื้อสิทธิ์ขายเสียงประจ าหมู่บ้าน แต่ต้องมี
                                  ค่าตอบแทนให้ไม่น้อยกว่าค่าตอบแทนที่ได้จากการเป็นหัวคะแนน

                              5.6 เปลี่ยนแปลงค่านิยมและทัศนคติ โดยปลูกฝังมาตั้งแต่เด็ก ทั้งในระดับครอบครัวและในระบบ

                                  โรงเรียน ส าหรับในโรงเรียน ให้มีหลักสูตรคุณธรรมและจริยธรรมทางการเมือง มีกิจกรรมเสริม
                                  หลักสูตรให้เด็กพูดถึงโทษของการซื้อสิทธิ์ขายเสียงหน้าเสาธง ส่วนในระดับเยาวชน ให้มี
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121