Page 176 - 21211_fulltext
P. 176
การประหยัดจากขนาดในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และวิเคราะห์ศักยภาพการควบรวมท้องถิ่นขนาดเล็ก
พื้นที่ จำนวนประชากร รายได้จัดเก็บเอง
ตำบล ชื่อหน่วยงาน
(ตารางกิโลเมตร) (คน) (ล้านบาท)
อ่างศิลา ทต.อ่างศิลา 9 3,286 1.216
อบต.อ่างศิลา 53.51 4,570 0.289
ม่วงสามสิบ ทต.ม่วงสามสิบ 1.84 3,340 2.774
อบต.ม่วงสามสิบ 75.37 6,669 1.306
ช่องแม็ก ทต.ช่องเม็ก 11.3 3,631 0.774
อบต.ช่องเม็ก 76.61 5,731 1.608
กุดข้าวปุ้น ทต.กุดข้าวปุ้น 12.39 4,116 1.360
อบต.กุดข้าวปุ้น 60.61 5,252 0.472
บัวงาม อบต.บัวงาม 149 5,337 0.560
ทต.บัวงาม 8.7 7,001 0.931
ที่มา: ปรับปรุงจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
2) ลักษณะรูปแบบซ้อนทับสองตำบล
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทยจำนวนมากวิวัฒนาการจาก
สุขาภิบาล ซึ่งส่วนใหญ่เป็นศูนย์กลางของชุมชน มีตลาดสดซึ่งเป็นศูนย์การค้าและ
พาณิชยกรรม ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลตำบล โดยมีลักษณะคาบเกี่ยวกับพื้นที่
สองตำบล ส่วนที่เหลือซึ่งไม่เต็มตำบล--อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นอีกตำบลหนึ่ง ตัวอย่างเช่น เทศบาลตำบลอุบล จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ
เปลี่ยนแปลงฐานะสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 มีผลตั้งแต่พฤษภาคม 2542
เป็นรอยต่อระหว่างตำบลแจระแม และตำบลขามใหญ่ พื้นที่รับผิดชอบ 3.5 ตาราง
กิโลเมตร และจำนวนประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 5,903 คน (ข้อมูล ณ วันที่
30 มกราคม 2561, เทศบาลตำบลอุบล 2561
6.3.2 การควบรวมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่
ในลักษณะรูปแบบพิเศษ
ลักษณะรูปแบบพิเศษ คือ การควบรวมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขนาดใหญ่มากกว่าสององค์กรเข้าด้วยกัน ซึ่งภายหลังการควบรวม คาดว่า จะได้รับ
สถาบันพระปกเกล้า 1