Page 357 - kpi21190
P. 357

357



 3. ปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญว่าด้วยการพระราชบัญญัติ  รัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 มาตรา 128 โดยการแสดง
 ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร    ความเห็นในการคำนวณหลายวิธี อย่างไรก็ตามผู้เขียนเห็นด้วยกับความเห็นที่สอง กล่าวคือ

 พ.ศ. 2561        จะต้องไม่นำคะแนนที่มีคะแนนน้อยกว่าคะแนน ส.ส.พึงมีมาคิดคำนวณ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ
                  เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ และจะมีความสอดคล้องกับแนวคิดของรัฐธรรม
                  แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ที่กำหนดหลักเกณฑ์ในการคำนวณสมาชิกสภา
 การตีความตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภา
 ผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 มาตรา 128 จะใช้ (4) หรือ (5) ก่อน ซึ่งแนวความเห็นก็จะมีความ  ผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อโดยหากคะแนนของพรรคการเมืองใดคำนวณไม่ถึงร้อยละ 5
                  จะไม่นำมารวมคิดคำนวณจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ และรัฐธรรมนูญ
 แตกต่างกันโดยความเห็นแรกให้ใช้มาตรา 128 (5) ก่อนโดยมีเหตุผลว่าเนื่องจากกฎหมาย   แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ที่ไม่มีการกำหนดเกณฑ์ขั้นต่ำร้อยละ 5 เช่นเดียวของ
 ใช้คำว่า “ภายใต้บังคับ (5)” คือการนำจำนวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อทั้งหมดมาปรับลดให้ได้
 จำนวน 150 คนก่อนแล้วจึงจัดสรรตามจำนวน แต่อย่างไรก็ตามเนื่องจาก (4) บัญญัติไว้ชัดเจน  รัฐธรรมนูญ 2540 ทำให้ทุกคะแนนเสียงถูกมาใช้คิดคำนวณสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมด
                  แต่จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ไม่ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เพราะไม่มี
 ว่า “ต้องไม่มีผลให้พรรคการเมืองใดดังกล่าวมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเกินจำนวนที่พึงมีตาม   จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพราะคะแนนไม่เพียงพอที่จะมี ส.ส.บัญชีรายชื่อเท่านั้น ไม่ใช่
 (2)” ซึ่งในการคำนวณตามความเห็นแรกทำให้มีจำนวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อที่ไม่ถึงคะแนน  เพียงเพราะคะแนนไม่ถึงเกณฑ์ขั้นต่ำของรัฐธรรมนูญ ซึ่งหากมีการคำนวณตามความเห็นที่สอง

 จำนวน ส.ส. พึงมี โดยมีพรรคการเมืองเล็กๆ เป็นจำนวนมาก และในขณะเดียวกันทำให้  ก็จะมีความสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญทั้งสองฉบับ และทำระบบการเมืองมีเสถียรภาพมากขึ้น
 พรรคการเมืองที่มีคะแนนมากกว่า ส.ส.พึงมีซึ่งจะต้องได้ ส.ส. หนึ่งคน กลับไม่ได้ ส.ส. และ
 การที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561
 มาตรา 128 (2) และ (3) ที่เติมคำว่า “เบื้องต้น” ต่อท้ายซึ่งในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  4. ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
 พุทธศักราช 2560 ทำให้จำนวน ส.ส.แบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคแตกต่างกัน จึงเป็นปัญหา  แบบบัญชีรายชื่อตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560

 เรื่องความชอบด้วยรัฐธรรมนูญว่าพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิก
 สภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 ขัดต่อมาตรา 91 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย    เนื่องจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบใหม่ตามระบบการเลือกตั้งแบบจัดสรร
 พ.ศ. 2560 หรือไม่   ปันส่วนผสม เป็นการนำคะแนนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง
                  มาคำนวณหาจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมือง โดยการ
 เนื่องจากการคำนวณการได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรนั้นจะต้องเป็นไปตามบทบัญญัติ  เลือกตั้งโดยใช้บัตรเลือกตั้งใบเดียว ต่างกันกับการเลือกตั้งแบบเดิมที่ผ่านมาตามรัฐธรรมนูญแห่ง
 ของรัฐธรรมนูญที่ชัดเจน แม้ศาลรัฐธรรมนูญจะมีความเห็นว่าพระราชบัญญัติประกอบ  ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และ 2550 เป็นระบบการเลือกตั้งแบบคู่ขนานโดยใช้บัตร

 รัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 มาตรา 128 จะไม่ขัดกับ  เลือกตั้ง 2 ใบ ได้แก่ เลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 91 เพราะเป็นบทบัญญัติที่มี   แบบบัญชีรายชื่อแยกออกจากกัน ทำให้การจัดสรรที่นั่งของผู้สมัครในระบบเขตเลือกตั้งและระบบ
 หลักการเกี่ยวกับการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณ และคิดอัตราส่วนของสมาชิกสภา   เป็นสัดส่วนจากบัญชีรายชื่อของพรรคจะเป็นอิสระจากกัน โดยจะไม่นำคะแนนจากระบบเลือกตั้ง
 ผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเพื่อให้ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อจำนวน   สองระบบมาคิดรวมกัน พบว่าระบบการเลือกตั้งแบบจัดสรรแบบจัดสรรปันส่วนผสมนั้น มีปัญหา
 หนึ่งร้อยห้าสิบคน แม้บทบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร   และอุปสรรคเกี่ยวกับการได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อตามรัฐธรรมนูญ
 พ.ศ. 2561 มาตรา 128 มีการบัญญัติรายละเอียดเพิ่มเติมจากบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ มาตรา 91   พุทธศักราช 2560 หลายประการ ดังนี้
 ก็เป็นเพียงการกำหนดรายละเอียดหลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณ คิดอัตราส่วนเพื่อให้ได้สมาชิก

 สภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อครบจำนวนตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด จึงไม่มีปัญหาเกี่ยวกับ  1)  ความไม่แน่นอนชัดเจนถึงรูปแบบวิธีการในการคำนวณจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
 41
 ความชอบรัฐธรรมนูญ  ผู้เขียนเห็นว่าแม้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้ง  แบบบัญชีรายชื่อ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 และพระราชบัญญัติ
 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 มาตรา 128 จะไม่ขัดกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย   ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 มาตรา 128 ทำให้
 พุทธศักราช 2560 มาตรา 91 แต่วิธีการคิดการคำนวณ หรือการกำหนดหลักเกณฑ์ในการ  เกิดสูตรในการคำนวณที่มาของการได้มา ส.ส.บัญชีรายชื่อหลายสูตร ซึ่งเป็นที่แน่นอนว่าเมื่อ
 คำนวณควรที่จะต้องมีความแน่นอนชัดเจน เพราะอาจจะเกิดความขัดแย้งทางการเมืองเกิด   บทบัญญัติกฎหมายไม่มีความแน่นอนชัดเจน และเกิดความซับซ้อนในการคำนวณ ทำให้เกิด   บทความที่ผ่านการพิจารณา

 ผลกระทบและความเสียหายจากประเทศชาติได้ เห็นได้จากมีการตีความพระราชบัญญัติประกอบ  ผลกระทบต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองที่จะเข้ามาทำหน้าที่
                  ในรัฐสภา ก่อให้เกิดความเหลื่อมล้ำทางการเมือง กล่าวคือ ทำให้พรรคการเมืองที่ได้คะแนนเสียง

    41   ข่าวสำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ ที่ 9/2562 วันที่ 8 พฤษภาคม 2562   เกินคะแนนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพึงมีกลับไม่มีที่นั่งในรัฐสภา ในขณะที่พรรคการเมืองที่มี
   352   353   354   355   356   357   358   359   360   361   362