Page 347 - kpi21190
P. 347
347
แบบสัดส่วนโดยแบ่งออกเป็น 8 กลุ่มจังหวัด โดยแต่ละพรรคการเมืองได้ส่งลงสมัครจำนวน สภาผู้แทนราษฎรที่พรรคนั้นควรจะมี และเมื่อได้จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละพรรค
8 บัญชีโดยการตัดสินใจในการเลือกผู้แทนแบบสัดส่วนนี้ มักเป็นการตัดสินใจเลือกที่คุณสมบัติ ควรจะมีแล้ว ให้นำมาหักลบกับจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต ก็จะทำให้ได้จำนวน
ของตัวบุคคลของผู้แทนมากกว่าการตัดสินใจเลือกพรรคการเมืองตามนโยบายของแต่ละพรรค สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรค
การเมืองที่เสนอต่อประชาชน อย่างไรก็ดีทั้งสองรูปแบบมีระบบและขั้นตอนในการคำนวณการได้
มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วนหรือบัญชีรายชื่อนั้นมีรูปแบบและขั้นตอนที่ชัดเจนไม่มี ข้อดีของการเลือกตั้งในระบบใหม่นี้ คือ ก่อให้เกิดความสะดวกในการใช้สิทธิของ
ความซับซ้อน ประชาชนที่ใช้บัตรเพียงใบเดียวในการเลือกตั้ง อีกทั้งเป็นการประหยัดงบประมาณของรัฐในการ
จัดการเลือกตั้ง และส่งผลทำให้พรรคการเมืองขนาดเล็กมีโอกาสเพิ่มมากขึ้นที่จะได้ที่นั่งสมาชิก
20
21
1.3) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 สภาผู้แทนราษฎรในสภา โดยทุกคะแนนเสียงถูกใช้นำมาคิดคำนวณสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
แบบบัญชีรายชื่อ และทำให้การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเกิดการแข่งขัน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้กำหนดให้สมาชิกสภา ทางการเมืองสูง ทำให้แต่ละพรรคการเมืองคัดคนที่ดีที่สุดลงรับเลือกตั้ง แม้จะรู้ว่าเขตตนคะแนน
ผู้แทนราษฎรมาจากการเลือกตั้งโดยทางตรงและลับ มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวนทั้งสิ้น สู้พรรคการเมืองอื่นไม่ได้แต่จะมีความหวังที่จะได้คะแนนมากที่สุดเพื่อใช้ในการคำนวณสมาชิก
500 คนโดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตซึ่งมีจำนวน 350 คน สภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ 22
โดยการแบ่งเขตของคณะกรรมการการเลือกตั้งจำนวน 350 เขตในประเทศไทย และสมาชิก
สภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อจำนวน 150 คน โดยพรรคการเมืองจัดทำบัญชีรายชื่อพรรคละ ส่วนข้อเสียของระบบการเลือกตั้งแบบใหม่นี้ ทำให้เกิดปัญหาในการตัดสินใจของ
1 บัญชี โดยผู้สมัครรับเลือกตั้งของแต่ละพรรคต้องไม่ซ้ำกัน และไม่ซ้ำกับรายชื่อผู้สมัครแบบ ผู้ลงคะแนน เพราะจะถูกบังคับให้ต้องพิจารณาทั้งคนและพรรคไปพร้อมกันเนื่องจากใช้บัตรเลือกตั้ง
แบ่งเขตเลือกตั้ง ระบบการเลือกตั้งใหม่เรียกว่า “ระบบแบบจัดสรรปันส่วนผสม” ในการเลือกตั้ง ใบเดียว จึงทำให้ประชาชนไม่สามารถทำตามเจตจำนงของตนได้อย่างอิสระ การที่ไม่มีการกำหนด
18
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร พุทธศักราช 2560 นี้ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิออกเสียงโดย คะแนนขั้นต่ำสำหรับคะแนนที่ใช้ในการคำนวณบัญชีรายชื่อทำให้มีพรรคการเมืองเล็ก ๆ เข้าสู่สภา
23
การใช้บัตรเลือกตั้งในการเลือกตั้งจำนวนหนึ่งใบ คือ หนึ่งคะแนนลงให้ผู้สมัครที่ชื่นชอบในเขตของ เป็นจำนวนมาก ส่งผลทำให้เกิดความไร้เสถียรภาพทางการเมือง และอาจมีการต่อรอง
ตนเท่านั้น โดยมีผลทำให้ถูกนับเป็นหนึ่งคะแนนในการคิดที่นั่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชี ผลประโยชน์ทางการเมือง ทำให้ประเทศยากต่อการพัฒนา นอกจากนี้ อาจทำให้ผู้สมัครสมาชิก
รายชื่อให้กับพรรคการเมืองที่ผู้สมัครคนนั้นสังกัดด้วย 19 สภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่ออาจไม่ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หากมี
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตที่พรรคการเมืองได้รับเกินจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนที่
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ที่แต่ละพรรคพึงมีตามกฎหมายกำหนด ทั้งที่พรรคการเมืองนั้นจะได้รับการเลือกตั้งจากคะแนน
พุทธศักราช 2560 เป็นระบบการเลือกตั้งแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างจากระบบการเลือกตั้งตาม เสียงจากประชาชนมากที่สุดก็ตาม ทำให้เกิดผลกระทบต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชี
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และ 2550 ที่มีระบบการเลือกตั้งแบบ รายชื่อของพรรคการเมืองที่จะเข้ามาทำหน้าที่ในรัฐสภา เกิดความเหลื่อมล้ำแก่พรรคการเมือง
คู่ขนานโดยประชาชนแสดงเจตจำนงในการเลือกผู้แทนผ่านการเลือกตั้งข้อเสียของระบบการ ที่ไม่มีตัวแทนได้เข้าทำหน้าที่ในรัฐสภา เพราะรูปแบบวิธีการคำนวณที่มีความซับซ้อนไม่เป็นไป
เลือกตั้งแบบใหม่นี้ เนื่องจากพรรคการเมืองอื่นไม่ได้แต่จะมีความหวังที่จะได้คะแนนมากที่สุดเพื่อ ตามเจตนารมณ์ที่แท้จริงของประชาชน ผู้เขียนได้จำแนกความแตกต่างข้อดีข้อเสียของการได้มา
ใช้ในการคำนวณสัดส่วนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร โดยใช้บัตรเลือกตั้ง 2 ใบ ได้แก่ การเลือกตั้ง ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อตามรัฐธรรมนูญที่สำคัญแต่ละฉบับ ดังนี้
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบการเลือกพรรคการเมือง
โดยการนำคะแนนเสียงที่ได้มาคำนวณที่นั่งของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อโดยแยก
ออกจากกันอย่างเป็นอิสระ ต่างกับเลือกตั้งในระบบใหม่นี้ประชาชนจะใช้สิทธิในการเลือกตั้งเพียง 20 ภัสรดา ปราบปราม. (28 ตุลาคม 2562). มิติใหม่ของระบบการเลือกตั้ง ปี 2562. สืบค้นจาก https://
ใบเดียวโดยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต และนำคะแนนที่ได้ไปคำนวณ www.tistr.or.th/tistrblog/wp-content/uploads/2019/03/election-2562.pdf
สัดส่วนของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ โดยการคำนวณการได้มาซึ่งสมาชิกสภา 21 พลเอกเลิศรัตน์ รัตนวานิช. ระบบการเลือกตั้งแบบสัดส่วนผสมในร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับ
ผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อไม่ได้แยกขาดจากจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต ปฏิรูป. เอกสารวิชาการส่วนบุคคลหลักสูตรหลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ ๓ วิทยาลัยรัฐธรรมนูญ,
เพราะคะแนนทั้งประเทศที่แต่ละพรรคการเมืองได้รับจะถูกนำไปคำนวณเพื่อให้ได้จำนวนสมาชิก สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ หน้า 4
22 สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (ธันวาคม 2558). ระบบการเลือกสำหรับประเทศ บทความที่ผ่านการพิจารณา
ไทย. เอกสารวิชาการอิเล็กทรอนิกส์ http://www.parliament.go.th/library, หน้า 15.
18 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 90 23
ทัดชนม์ กลิ่นชำนิ. (30 ตุลาคม 2562). เรียนรู้ระบบเลือกตั้งสู่บทเรียนการเลือกตั้งในรัฐธรรมนูญ 2562.
19 สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (มีนาคม 2559). ระบบการเลือกตั้งใหม่: แบบ สืบค้นจาก https://spm.thaigov.go.th/FILEROOM/spm-thaigov/DRAWER014/GENERAL/DATA0000/
จัดสรรปันส่วนผสม. เอกสารวิชาการอิเล็กทรอนิกส์ http://www.parliament.go.th/library, หน้า 2. 00000243.PDF