Page 342 - kpi21190
P. 342

342



               สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ มาตรา 91 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย                               1.  การได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อตาม
               พุทธศักราช 2560 ประกอบกับมาตรา 128 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย                                รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
               การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีวิธีการคำนวณที่นั่งของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากกว่า
               หนึ่งวิธี จะเห็นได้จากการประกาศผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของ                             การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข ประชาชนถือว่า
               คณะกรรมการการเลือกตั้งที่ผ่านมา โดยได้คำนวณการได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พบว่า                          เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยที่สำคัญในการปกครองประเทศ โดยการแสดงเจตจำนงผ่านการเลือกตั้ง

               ทำให้การเลือกตั้งในครั้งนี้มีพรรคการเมืองในสภาอย่างน้อย 27 พรรค และจะทำให้พรรคที่ได้                       เลือกโดยเลือกผู้แทนของตนมาทำหน้าที่พัฒนาชาติบ้านเมือง ซึ่งกฎหมายรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ
               คะแนนไม่ถึงเกณฑ์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต่อประชาชนพึงมีได้ที่นั่ง ซึ่งมีทั้งสิ้น 11 พรรค 4                     ได้มีการบัญญัติถึงหลักเกณฑ์การได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แตกต่างกัน โดยผู้เขียน
               ทำให้มีตัวแทนของพรรคการเมืองในสภาที่เป็นพรรคเล็กๆ เข้ามาเป็นตัวแทนในสภาเป็นจำนวน                           จะกล่าวถึงการได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ ตามรัฐธรรมนูญแห่ง
               มาก แม้คะแนนเสียงของตัวแทนของพรรคการเมืองที่ได้เข้ามานั้นจะไม่ถึงคะแนนเสียงของสมาชิก                       ราชอาณาจักรไทยแต่ละฉบับที่สำคัญ ดังนี้
               สภาผู้แทนราษฎรพึงมีก็ตาม อย่างไรก็ตาม นักวิชาการหลายท่านได้ตีความวิธีการคำนวณสูตร
               ดังกล่าวแตกต่างกันออกไปหลากหลายความเห็น แล้ววิธีการคำนวณตามสูตรใดจะเป็นวิธีการ                                  1.1)   รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540

               คำนวณการได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อที่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งแต่ละวิธี
               จะมีผลลัพธ์ที่แตกต่างกันอันส่งผลกระทบต่อพรรคการเมืองต่างๆ รวมไปถึงกระทบต่อเสถียรภาพ                                นับตั้งแต่การประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
               ทางการเมือง                                                                                                ประเทศไทยใช้ระบบการเลือกตั้งแบบผสมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นระบบ
                                                                                                                          การเลือกตั้งแบบคู่ขนานระหว่างการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตและแบบเป็นสัดส่วน การจัดสรรที่นั่ง
                    ดังนั้น เมื่อบทบัญญัติแห่งกฎหมายในการคำนวณการได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร                            ของผู้สมัครในระบบเขตเลือกตั้งและระบบเป็นสัดส่วนจากบัญชีรายชื่อของพรรคเป็นอิสระจากกัน

               แบบบัญชีรายชื่อไม่มีความแน่นอนชัดเจนแล้ว ทำให้เกิดผลกระทบต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร                           รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ได้กำหนดให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
               แบบบัญชีรายชื่อที่จะเข้ามาทำหน้าที่ในรัฐสภา อันไม่สอดคล้องกับเจตจำนงที่แท้จริงของประชาชน                   มาจากการเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวนทั้งสิ้น 500 คน ได้แก่ สมาชิกสภา
               อันขัดต่อความเป็นประชาธิปไตย อีกทั้งอาจก่อให้เกิดความเหลื่อมล้ำทางการเมือง กล่าวคือ ทำให้                  ผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต จำนวน 400 คน และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
                                                                                                                                        5
               พรรคการเมืองที่ได้คะแนนเสียงเกินคะแนนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพึงมีกลับไม่มีที่นั่งในรัฐสภา                     จำนวน 100 คน  โดยพรรคการเมืองจัดทำบัญชีรายชื่อพรรคละ 1 บัญชี และให้ถือประเทศไทย
               อันเกิดจากรูปแบบของการคำนวณการได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อที่ไม่มีความ                        เป็นเขตเลือกตั้งโดยผู้สมัครรับเลือกตั้งจะต้องไม่เกินหนึ่งร้อยคน โดยบัญชีรายชื่อของแต่ละ
               ชัดเจน เมื่อมีตัวแทนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคเล็กพรรคน้อยรวมตัวกันจัดตั้งเป็น                               พรรคการเมืองต้องมาจากผู้สมัครรับเลือกตั้งจากภูมิภาคต่างๆ อย่างเป็นธรรม และต้องไม่ซ้ำกับ
               ฝ่ายรัฐบาลก็ทำให้รัฐบาลขาดความเป็นเอกภาพทางการเมือง การบริหารประเทศไม่คล่องตัว                             รายชื่อในบัญชีที่พรรคการเมืองอื่นจัดทำขึ้นและไม่ซ้ำกับรายชื่อของผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบ

               มีการต่อรองผลประโยชน์ระหว่างพรรคการเมืองที่ร่วมรัฐบาลอาจสร้างปัญหาในการดำเนิน                              แบ่งเขตเลือกตั้งโดยจัดทำรายชื่อเรียงตามลำดับหมายเลข 6
               นโยบายของภาครัฐและการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศไทย อันส่งผลกระทบที่สำคัญที่จะ
               ทำให้ระบอบประชาธิปไตยมีคุณภาพอย่างยั่งยืน โดยบทความนี้จะกล่าวถึงประเด็นสำคัญทาง                                    ในการเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 นั้น
               กฎหมายเกี่ยวกับการได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อตามรัฐธรรมนูญแห่ง                            กำหนดให้ผู้ใช้สิทธิเลือกตั้งสามารถแสดงเจตจำนงในการเลือกตั้งโดยใช้บัตรเลือกตั้ง 2 ใบ ได้แก่
               ราชอาณาจักรไทยแต่ละฉบับที่สำคัญ วิธีการคำนวณการได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตาม                            การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต จำนวน 400 คน เป็นการเลือกตั้งระบบเสียง
               รัฐธรรมนูญ 2560 ปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญว่าด้วยการพระราชบัญญัติประกอบ                                    ข้างมาก ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสามารถลงคะแนนเสียงเลือกผู้สมัครได้ 1 คนต่อ 1 เขต โดยผู้ที่ได้
                                                                                                                                                          7
               รัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2561 รวมไปถึงปัญหาการได้มาซึ่ง                      คะแนนสูงสุดเป็นผู้ได้รับการเลือกตั้ง  และการเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
                                                                                                                          มีจำนวน 100 คน โดยใช้ประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง กล่าวคือ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสามารถลงคะแนน
        บทความที่ผ่านการพิจารณา   ทางกฎหมายถึงแนวทางที่ควรจะเป็นเกี่ยวกับการได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ  เบื้องต้น โดยการกำหนดคะแนนขั้นต่ำในการกำหนดสัดส่วนจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบ
               สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560 และข้อเสนอแนะ
                                                                                                                          เสียงเลือกได้ 1 พรรคการเมือง โดยมีวิธีการคำนวณสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
               ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ซึ่งจะได้พิจารณาเป็นลำดับ ดังนี้


                                                                                                                                รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 98
                                                                                                                             5

                                                                                                                                รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 99
                                                                                                                             6
                                                                                                                                รังสรรค์ ธนะพรพันธ์. ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2475-2540.
                                                                                                                             7
                  4
                    ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 61/2562 (ส.ส.6/3) เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
               แบบบัญชีรายชื่อ ลงวันที่ 8 พฤษภาคม 2562                                                                    โครงการเมธีวิจัยอาวุโส สกว., เศรษฐศาสตร์รัฐธรรมนูญ, สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย, หน้า 4
   337   338   339   340   341   342   343   344   345   346   347