Page 341 - kpi21190
P. 341
341
เหลื่อมล้ำแก่พรรคการเมืองที่ไม่มีตัวแทนได้เข้าทำหน้าที่ในรัฐสภาเพราะรูปแบบวิธีการคำนวณที่ บทนำ
ไม่มีความชัดเจน และส่งผลกระทบที่สำคัญต่อระบอบประชาธิปไตย เพื่อแก้ไขปัญหารัฐควรใช้
ระบบการเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสมที่มีวิธีการได้มาของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชี ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยมี
รายชื่อให้มีความชัดเจนมากขึ้น ควรกำหนดคะแนนขั้นต่ำในการคำนวณสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด โดยประชาชนเป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในการปกครอง
แบบบัญชีรายชื่อ เพื่อทำให้ระบอบประชาธิปไตยมีความยั่งยืน รัฐบาลมีเสถียรภาพและสามารถ ประเทศโดยการใช้สิทธิผ่านการเลือกตั้งในการเลือกตัวแทนเข้ามาทำหน้าที่ในรัฐสภา ตาม
พัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไปในอนาคต รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ประกอบไปด้วยสมาชิก 500 คนซึ่งมาจากการเลือกตั้ง โดยกำหนดสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบ
Abstract แบ่งเขตจำนวน 350 คน ซึ่งใช้วิธีการออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ โดยแต่ละเขตเลือกตั้งมี
จำนวนผู้แทนได้เพียงคนเดียว และสมาชิกซึ่งมาจากบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง 150 คน 1
The acquisition of Member of Parliament through party list system under the โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีระบบการเลือกตั้งแบบใหม่ หรือ
Constitution of Thailand B.E. 2560 originates from mixed member apportionment เรียกว่า “แบบจัดสรรปันส่วนผสม” (mixed member apportionment system หรือ MMA)
(MMA) system through the electoral system election in which one ballot is used. หรือรู้จักกันโดยทั่วไปว่า ระบบการเลือกตั้งแบบสัดส่วนที่มีสมาชิกแบบผสม (Mixed Member
The result from electoral election will be employed to calculated for quota of party list Proportional: MMP) เป็นการนำคะแนนจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
members. It is discovered that the calculation according to Article 19 of Thai เลือกตั้งมาคำนวณหาจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมือง
Constitution and Article 128 of Organic Act on the Election of Members of the โดยการเลือกตั้งแบบใหม่นี้กำหนดให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งโดยการใช้บัตรเลือกตั้งใบเดียว 2
Parliament is complex and ambiguous which impact the appointment of party-list ซึ่งต่างกันกับการเลือกตั้งแบบเดิมที่ผ่านมาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
members of the parliament. This also create inequality for parties whose members are 2540 และ 2550 เป็นระบบการเลือกตั้งแบบคู่ขนานระหว่างการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตและ
not qualified for under such ambiguity and eventually affect the democratic process. แบบเป็นสัดส่วน (Paralleled Proportional) โดยผู้มีสิทธิเลือกตั้งใช้บัตรเลือกตั้งสองใบ ซึ่งเลือก
The proposed solution is that Thailand shall employ MMA with clearly defined สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อแยกออก
calculation method for party-list member. The minimum threshold for the calculation จากกัน ทำให้การจัดสรรที่นั่งของผู้สมัครในระบบเขตเลือกตั้งและระบบเป็นสัดส่วนจากบัญชี
shall be stipulated for sustainable democracy, and stability of the government that รายชื่อของพรรคจะเป็นอิสระจากกัน โดยจะไม่นำคะแนนจากระบบเลือกตั้งสองระบบมาคิด
contributes to the progress of the country into the future. รวมกัน และไม่มีการชดเชยคะแนนเพื่อให้ที่นั่งที่พรรคการเมืองได้รับอันเป็นการสะท้อนสัดส่วน
คะแนนที่แท้จริงของพรรคการเมืองจากระบบบัญชีรายชื่อ 3
จากการเลือกตั้งในวันที่ 24 มีนาคม 2562 ที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่า พบสูตรในการคำนวณ
การได้มาซึ่งที่นั่งของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ นับว่าเป็นปัญหาที่สุดตั้งแต่
มีรัฐธรรมนูญมา สาเหตุสำคัญเนื่องจากระบบการเลือกตั้งแบบจัดสรรปันส่วนผสมนั้น ใช้คะแนน
เสียงการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตที่พรรคการเมืองแต่ละพรรคได้รับมาคำนวณเป็นที่นั่งสมาชิกสภา
ผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเพื่อให้ได้จำนวน 150 ที่นั่ง ทำให้ระบบการคำนวณที่มาของสมาชิก
สภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อมีความซับซ้อนมาก และนอกจากนี้วิธีการคำนวณการได้มาซึ่ง
1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 มาตรา 83
2 สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ระบบการเลือกตั้งใหม่ : แบบจัดสรรปันส่วนผสม.
เอกสารวิชาการมีนาคม 2559 ที่มา https://www.parliament.go.th/library/ เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 28 มีนาคม บทความที่ผ่านการพิจารณา
2562
วงศ์วริศ ศุภปฐวีพงศ์. (2558). แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการเลือกตั้งด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์.
3
(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์, สาขาสาขาวิชาการบริหารจัดการ
สาธารณะ สำหรับนักบริหาร, หน้า 16-17