Page 344 - kpi21190
P. 344

344



               บัญชีรายชื่อ กล่าวคือ นำรวมผลคะแนนทั้งหมดที่พรรคการเมืองได้รับคะแนนจากบัญชีรายชื่อ                          ลำดับหมายเลขซึ่งจะได้จำนวนผู้แทนกลุ่มจังหวัดละ 10 คน เมื่อรวมผู้แทนทั้ง 8 กลุ่มจังหวัด
                                                                                       8
               ของพรรคการเมืองมาคิดคำนวณหาสัดส่วนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ  ในกรณี                               เข้าด้วยกันก็จะได้จำนวนผู้แทนทั้งสิ้น 80 คน  ในการคำนวณสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน
                                                                                                                                                                13
               ที่พรรคการเมืองใดได้คะแนนเสียงน้อยกว่าร้อยละห้าของจำนวนคะแนนเสียงรวมทั้งประเทศ                              ของแต่ละกลุ่มจังหวัดตามรัฐธรรมนูญ 2550 ไม่มีการกำหนดเกณฑ์ขั้นต่ำร้อยละ 5 เช่นเดียว
                                                                                                                                              14
               ให้ถือว่าไม่มีผู้ใดในบัญชีนั้นได้รับการเลือกตั้ง และมิให้นำคะแนนเสียงนั้นมาคำนวณเพื่อหา                     ของรัฐธรรมนูญ 2540  จึงส่งผลทำให้ทุกคะแนนเสียงถูกมาใช้คิดคำนวณสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
               สัดส่วนของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 9                                                                       แบบสัดส่วนทั้งหมด แต่พรรคการเมืองที่มีคะแนนเสียงน้อยจะไม่มีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

                                                                                                                           เพราะคะแนนไม่พอเท่านั้น ไม่ใช่เพียงเพราะคะแนนไม่ถึงเกณฑ์ขั้นต่ำของรัฐธรรมนูญ อย่างไรก็ตาม
                       ระบบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อตามรัฐธรรมนูญแห่ง                                พบว่าการเลือกตั้งแบบสัดส่วนถูกวิจารณ์ในแง่ลบ เพราะการปัดเศษถึง 8 ครั้ง ใน 8 กลุ่มจังหวัด
               ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เป็นการส่งเสริมระบบพรรคการเมือง เพราะต้องเลือก                               ทำให้มีความได้เปรียบเสียเปรียบเป็นช่องว่างที่กว้างขึ้น และนอกจากนี้ยังมีอีกหลายประเด็นที่ถูก
               บัญชีพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งโดยเลือกตัวบุคคลไม่ได้ ทำให้คะแนนของผู้มีสิทธิ                          วิพากษ์วิจารณ์และได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
               ทุกคนมีความหมายโดยเฉพาะคะแนนที่เลือกพรรคการเมือง เพราะต้องนำคะแนนไปคำนวณ                                    ต่อไป
               รวมกันในระดับประเทศ ในขณะที่ระบบนับคะแนนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง

               นั้นคะแนนของผู้ที่แพ้การเลือกตั้งหมดความหมาย เพราะไม่มีการนำคะแนนไปคำนวณอีก ทำให้                                   หลังการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ในการ
               ได้ผู้แทนราษฎรที่มีวิสัยทัศน์กว้างระดับประเทศเพิ่มขึ้นแทนที่จะเป็นผู้แทนเขตเลือกตั้ง และกรณี                เลือกตั้งปี 2554 ได้กำหนดให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาจากการเลือกตั้ง โดยประกอบด้วย
               พรรคการเมืองใดได้คะแนนต่ำกว่าร้อยละ 5 ให้ถือว่าไม่มีใครได้รับเลือกตั้งก็เพื่อไม่ให้มีพรรคน้อย               สมาชิกจำนวน 500 คน ซึ่งเป็นสมาชิกแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจำนวน 375 คน และสมาชิกแบบ
                                                                                                                                                   15
               เต็มสภา ซึ่งจะทำให้รัฐสภาไม่มีเสถียรภาพ การบริหารประเทศเป็นไปอย่างไม่คล่องตัว  10                           บัญชีรายชื่อจำนวน 125 คน  โดยมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญโดยยกเลิกระบบสัดส่วนทิ้งไป กลับมา
               แต่ระบบนี้พบข้อเสียคือพรรคเล็กพรรคน้อยไม่มีโอกาสได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา                             ใช้ระบบบัญชีรายชื่อ บัญชีเดียวทั่วประเทศ แต่ได้เพิ่มจำนวนจาก 80 เป็น 125 คน และไม่มี

               ผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ คะแนนที่ประชาชนได้มีการเลือกตั้งพรรคนั้นอาจไร้ความหมาย                           เกณฑ์ขั้นต่ำของคะแนน  ซึ่งการเลือกตั้งหลังจากประกาศใช้รัฐธรรมนูญปี 2550 กำหนดให้
               กล่าวคือไม่ถูกนำมาคิดจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อและทำให้ไม่มีพรรค                              ประชาชนสามารถใช้สิทธิในโดยมีบัตรเลือกตั้งจำนวน 2 ใบ กล่าวคือ หนึ่งใบสำหรับเลือกสมาชิก
               การเมืองเล็กๆ มีโอกาสเข้าทำหน้าที่ในรัฐสภา                                                                  สภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต และอีกหนึ่งใบสำหรับเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชี
                                                                                                                           รายชื่อโดยเลือกบัญชีรายชื่อตามที่พรรคการเมืองจัดขึ้นโดยเลือกบัญชีรายชื่อใดเพียงบัญชีเดียว
                    1.2)  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
                                                                                                                                                                   16
                                                                                                                           และถือเขตของประเทศเป็นเขตในการเลือกตั้ง  ในการคำนวณสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบ
                       ช่วงระยะเริ่มแรกของการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ 2550 ยังคงมีการเลือกตั้งแบบผสม                            บัญชีรายชื่อให้นำคะแนนที่แต่ละพรรคการเมืองได้รับการเลือกตั้งมารวมกันทั้งประเทศแล้ว
               ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 480 คน โดยมาจาก                                    คำนวณเพื่อแบ่งจำนวนผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งแต่ละพรรคเป็นสัดส่วนที่สัมพันธ์กันโดยตรงกับ
                                                                                              11
               การเลือกตั้งแบ่งเขตจำนวน 400 คน และมาจากการเลือกตั้งแบบสัดส่วนจำนวน 80 คน                                   จำนวนคะแนนรวม   17
               เป็นการเลือกตั้งโดยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในระบบบัญชีรายชื่อที่เรียกว่า บัญชีสัดส่วน โดย                             จากการคำนวณสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อหลังการแก้ไขเพิ่มเติม
               รูปแบบการเลือกตั้งแบบสัดส่วนแบ่งออกเป็น 8 กลุ่มจังหวัด โดยแต่ละกลุ่มจังหวัดจะมีจำนวน                        รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 พบว่าการได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

                                                                           12
               ประชากรใกล้เคียงกัน และแต่ละเขตมีอาณาเขตติดต่อกันเป็นผืนเดียว  แต่ละพรรคการเมือง                            แบบบัญชีรายชื่อนั้นมีความเป็นเอกภาพมากขึ้นโดยประชาชนได้ตัดสินใจเลือกพรรคการเมือง
               จะต้องส่งรายชื่อผู้สมัคร 8 บัญชี ลงสมัครใน 8 กลุ่มจังหวัด บัญชีละไม่เกิน 10 คน เรียงตาม
                                                                                                                           ที่ตนเองประสงค์เพื่อกำหนดทิศทางอนาคตของประเทศผ่านการตัดสินใจตามนโยบายของ
                                                                                                                           พรรคการเมืองต่างกันกับระยะเริ่มแรกของการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ 2550 ซึ่งเป็นการเลือกตั้ง
                  8   พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา                    13
        บทความที่ผ่านการพิจารณา   รัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2541 มาตรา 76 (2)      16   รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 93
               พ.ศ. 2541 มาตรา 76 (1)
                  9
                    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 99  และพระราชบัญญัติประกอบ
                                                                                                                                 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 99
                                                                                                                              14

                    สมยศ อักษร. (มกราคม-เมษายน 2558). การปฏิรูปเพื่อให้ได้มาซึ่งสมาชิกรัฐสภาที่สุจริตและเป็นธรรม
                 10
                                                                                                                              15
                                                                                                                                 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 93
               อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของนักการเมือง. วารสารรัฏฐาภิรักษ์, 57(1), หน้า 26
                                                                                                                                 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 95 (แก้ไขเพิ่มเติมโดยรัฐธรรมนูญแห่ง
                 11
                    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 93
                    นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (1 ตุลาคม 2562). ที่มาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
                 12

                                                                                                                              17
                                                                                                                                 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 98 (แก้ไขเพิ่มเติมโดยรัฐธรรมนูญแห่ง
               ไทย 2550. สืบค้นจาก http://wiki.kpi.ac.th                                                                   ราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2554)
                                                                                                                           ราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2554)
   339   340   341   342   343   344   345   346   347   348   349