Page 40 - kpi20899
P. 40

“การถอดบทเรียนชุมชนเพื่อการปฏิรูปกระบวนการจัดการทรัพยากร : พลวัตแห่งการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรน ้า
                        ในพื นที่ต้าบลหนองพันจันทร์ อ้าเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี”  โดย  ดร.ปริชัย ดาวอุดม และนายเจษฎา เนตะวงศ์







                             2) ขั้นตอนในการสร้างแนวค้าถามที่ใช้ในการสนทนากลุ่ม

                                  ก้าหนดมโนทัศน์ตามประเด็นที่ศึกษา มโนทัศน์ที่จะใช้ในการสนทนานี้จะได้มาจาก

                  บรรดามโนทัศน์ที่เกิดจากการวิเคราะห์ข้อมูลและการสร้างข้อเสนอเชิงทฤษฎีในขั้นของการสัมภาษณ์

                  แบบลึก ทั้งนี้เพื่อที่จะน้าไปสู่การแตกออกเป็นประเด็นในการสนทนา

                                  ก้าหนดประเด็นในการสนทนา สร้างเป็นค้าถามปลายเปิดจากบรรดามโนทัศน์ที่เป็น

                  ประเด็นในการศึกษา โดยแต่ละมโนทัศน์ผู้วิจัยจะก้าหนดเป็นประเด็นในการสนทนาไม่เกิน 5-6 ประเด็น

                  ซึ่งประเด็นในการสนทนานี้จะไม่ตายตัวและสามารถยืดหยุ่นได้ รวมถึงจะต้องเกี่ยวข้องกับกลุ่มที่ด้าเนินการ

                  จัดสนทนากลุ่มแต่ละกลุ่มด้วย

                                  จัดท้ารายละเอียดค้าถามที่จะใช้ในการซักถามต่อจากประเด็นสนทนา ขั้นตอนนี้

                  จัดท้าเป็นรายละเอียดข้อซักถามหรือข้อเสนอที่น้าเข้าสู่การสนทนาเพื่อช่วยให้ประเด็นในการสนทนา

                  มีความชัดเจนยิ่งขึ้น

                                  จัดท้าเป็นแนวค้าถามแบ่งตามกลุ่มที่เชิญมาร่วมสนทนากลุ่ม ซึ่งการสนทนาแต่ละกลุ่ม

                  จะมีทั้งค้าถามส่วนที่เหมือนกันและแตกต่างกัน


                             3) การตรวจสอบแนวค้าถามจากผู้เชี่ยวชาญ


                                 การพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ คณะผู้วิจัยได้ยึดตามกรอบ

                  แนวคิด ทฤษฎี เพื่อน้าไปสู่การออกแบบแนวค้าถามในการถอดบทเรียน จากนั้นจึงได้มีการน้าแนวค้าถาม

                  ที่พัฒนาขึ้น ไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเชิงเนื้อหา (Content Validity) โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้

                  ความสามารถ และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นในการศึกษาวิจัย ดังต่อไปนี้

                                  ผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัย      จ้านวน 1 ท่าน

                                  ผู้เชี่ยวชาญด้านรัฐศาสตร์     จ้านวน 1 ท่าน

                                  ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาชุมชน  จ้านวน 2 ท่าน


                                 จากการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญ พบว่า ประเด็นค้าถามมีความครอบคลุมและสอดคล้อง

                  กับวัตถุประสงค์การวิจัยและไม่ได้มีการปรับแก้ในเชิงเนื้อหา หากแต่ได้ให้ข้อเสนอแนะในการปรับค้าและ

                  รูปประโยคค้าถามให้มีความกระชับและชัดเจนมากยิ่งขึ้น ซึ่งคณะผู้วิจัยได้น้ามาปรับปรุง พัฒนาข้อค้าถาม

                  ให้มีความเหมาะสมและได้น้าไปทดสอบสัมภาษณ์กับกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ชุมชน เพื่อให้ได้ข้อมูลตาม

                  วัตถุประสงค์และเป้าหมายการวิจัย






                                                            39
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45