Page 6 - kpi20767
P. 6

ง


                       มากขึ้นเพื่อทดแทนบุคลากรและเพิ่มประสิทธิภาพในการท างาน ที่ส าคัญคือ ต้องให้ความส าคัญต่อ

                       การพัฒนาองค์กรภาคประชาชนให้เข้มแข็งเพื่อเป็นกลไกขับเคลื่อนนโยบายในระดับพื้นที่ได้อย่างมี
                       ประสิทธิภาพ

                              ส่วนที่ 2 ความท้าทายในประเด็นธรรมาภิบาลกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ :

                       กรมบังคับคดี กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
                              ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ระดับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ

                       ภายใต้หลักธรรมาภิบาลโดยรวม อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.71  เมื่อจ าแนกเป็นราย

                       ปัจจัย พบว่า ระดับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติภายใต้หลักธรรมาภิบาล
                       ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากจ านวน 11 ปัจจัย และมีค่าเฉลี่ยใน ระดับปานกลางจ านวน 1 ปัจจัย

                       โดยเรียงล าดับปัจจัยมีค่าเฉลี่ยจากมากที่สุด 3 ล าดับแรก  คือ ปัจจัยด้านผู้น า มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด

                       โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.95 รองลงมาได้แก่ ปัจจัยด้านโครงสร้างองค์การ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.90
                       และปัจจัยด้านนโยบาย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.86

                              ระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติภายใต้หลักธรรมาภิบาล พบว่า พบว่า ระดับการ

                       ด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติภายใต้หลักธรรมาภิบาลโดยรวม อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
                       3.97 เมื่อจ าแนกเป็นรายด้าน พบว่า ระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติภายใต้หลัก

                       ธรรมาภิบาล มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากจ านวนทั้ง 6 ด้าน โดยเรียงล าดับรายด้านมีค่าเฉลี่ยจากมาก

                       ที่สุดไปหาน้อยที่สุดได้ดังนี้ องค์ประกอบด้านหลักความคุ้มค่า มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
                       4.04 รองลงมาได้แก่ องค์ประกอบด้านหลักความรับผิดชอบ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.03  องค์ประกอบ

                       ด้านหลักนิติธรรม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.99 องค์ประกอบด้านหลักคุณธรรม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.99

                       องค์ประกอบด้านหลักความโปร่งใส มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.93  และสุดท้ายได้แก่ องค์ประกอบด้าน
                       หลักการมีส่วนร่วม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.87

                              ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับ

                       สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล โดยรวมจ าแนกตามสังกัด
                       หน่วยงานของกลุ่มตัวอย่าง  ต าแหน่งของกลุ่มตัวอย่าง และประสบการณ์ท างานของกลุ่มตัวอย่าง

                       พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่สังกัดหน่วยงาน มีต าแหน่งงานและประสบการณ์ท างานต่างกัน มีระดับ

                       การด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้
                       หลักธรรมาภิบาลโดยรวม ไม่แตกต่างกัน  ส าหรับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์

                       ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การ

                       ภาครัฐ โดยรวม ได้แก่ ปัจจัยด้านผู้น า   ( Beta = .30) ปัจจัยด้านค่านิยม/วัฒนธรรม ( Beta = .20)
                       ปัจจัยด้านกลุ่มเป้าหมาย  (Beta = .24) ปัจจัยการสื่อสารระหว่างหน่วยงาน (Beta = .15) และปัจจัย

                       ด้านสภาพแวดล้อมภายนอก  ( Beta = .14)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11