Page 390 - kpi20767
P. 390

365



                                                             ตอนที่ 1
                                                แบบบันทึกข้อมูลทั่วไปของผู้ประเมิน



                       ชื่อ-นามสกุล ผู้ประเมิน........................................................................................................................
                       ต าแหน่งผู้ประเมิน..............................................................................................................................

                       ท าการประเมินรายการข้อค าถามในด้าน  

                             เนื้อหา    ภาษา  สถิติและการวัดประเมินผล



                                              (................................................................)

                                                        ลายมือชื่อผู้ประเมิน


                                                            ตอนที่  2
                              นิยามศัพท์เฉพาะของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้าน

                       การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรภาครัฐ

                       จ านวน 12 ปัจจัย และนิยามศัพท์เฉพาะของการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับ
                       สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรภาครัฐ จ านวน 6

                       องค์ประกอบ


                       ตอนที่ 2.1 นิยามศัพท์เฉพาะของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้าน

                                การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์กร
                                ภาครัฐ มีดังนี้


                              ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนา

                       ระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรภาครัฐ หมายถึง ตัวแปรอิสระของการ
                       วิจัยซึ่งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงไป จะส่งผลให้ตัวแปรตามหรือการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติใน

                       ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์กรภาครัฐ เกิด

                       การเปลี่ยนแปลงไปเช่นเดียวกัน โดยการเปลี่ยนแปลงนั้นอาจเป็นการเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน
                       (แปรตามกัน) หรืออาจเป็นการเปลี่ยนแปลงแบบตรงกันข้ามกันก็ได้ (แปรผกผันกัน) ซึ่งในการวิจัยครั้ง

                       นี้ ประกอบด้วยปัจจัยจ านวน 12 ปัจจัย ได้แก่ 1) ปัจจัยด้านนโยบาย 2) ปัจจัยการสื่อสารระหว่าง

                       หน่วยงาน 3) ปัจจัยด้านภารกิจ 4) ปัจจัยด้านทรัพยากร 5) ปัจจัยด้านการสื่อสารภายนอกองค์การ
                       6) ปัจจัยด้านกลุ่มเป้าหมาย 7) ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอก 8) ปัจจัยด้านโครงสร้างองค์การ
   385   386   387   388   389   390   391   392   393   394   395