Page 309 - kpi20767
P. 309
284
“…การใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในกระบวนการต่างๆ เพื่อลดการทุจริตและใช้
ดุลยพินิจ และสามารถเห็นได้ชัดเจนว่าขั้นตอนต่าง ๆ อยู่ในกระบวนการใด ใครรับผิดชอบ
ซึ่งแต่ละขั้นตอนนั้นมีระยะเวลาก าหนดอยู่แล้ว และยังช่วยลดการใช้กระดาษด้วย.....”
(ผู้ให้สัมภาษณ์ 2)
“….บุคคลต้นแบบ เริ่มท าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 โดยการท าการประเมินบุคคลนั้นตาม
เกณฑ์ที่วางไว้ โดยผู้ตรวจราชการกรมลงไปประเมินอีกขั้นหนึ่งว่าได้ท าจริงตามที่ประเมินไว้
หรือไม่ โดยท ากับ สนง.กรมฯทั่วประเทศรวมถึงส่วนกลาง (บังคับประเมิน)…”
(ผู้ให้สัมภาษณ์ 3)
“…….ในกรมบังคับคดีคู่มือผลประโยชน์ทับซ้อน โดยให้ จนท. ท าข้อสอบเพื่อดูว่ามี
ความเข้าใจเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อนเพื่อให้เกิดความเข้าใจเรื่อง เรื่องทุจริตภายในกรมฯ
เพื่อเจ้าหน้าที่จะตื่นตัวไม่นิ่งเฉย....”
(ผู้ให้สัมภาษณ์ 4)
4. หลักการมีส่วนร่วม
กรมบังคับคดีด าเนินงานตามหลักการมีส่วนร่วม โดยมีการสร้างตัวแบบการมี
ส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพื่อให้การบังคับคดีเป็นไปได้ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ มีการรับเรื่อง
ร้องเรียนการกระท าผิดของเจ้าหน้าที่ผ่านระบบต่างๆ เช่น Application / E-Mail ตลอด 24
ชั่ววโมง มีหน่วยงานคอยตรวจสอบและท าการสืบสวนข้อเท็จจริงก่อนว่าสิ่งที่ถูกร้องเรียนมานั้นเป็น
ความจริงหรือไม่ ถ้าเข้าข่ายกระท าผิดวินัย จะส่งเรื่องให้ด าเนินการทางวินัย โดยลักษณะที่ร้องเรียน
ภายในไม่ค่อยมีถึงมีน้อยมาก การใช้ระบบนัดล่วงหน้าแบบอิเล็กทรอนิกส์ ท าให้ประชาชนไม่ต้องรอ
คิวนาน ในการหาเอกสารต่างๆ มีการให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ทุกครั้งที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
กฎหมาย การให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของแต่ละต าแหน่งงาน ให้แต่ละต าแหน่งมีความรู้
ที่หลากหลาย เพราะอนาคตคนท างานจะลดลง ทุกคนต้องท าได้หลายหน้าที่ และที่ส าคัญกรมบังคับ
คดีมีการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียก่อนการแก้ไขกฎหมาย โดยเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม
ตั้งแต่แรก