Page 186 - kpi20488
P. 186
สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข 185
2.3 กลไกทางสังคม
ปัญห�หนึ่งที่สำ�คัญในกระบวนก�รสื่อส�ร คือ “ก�รเลือกรับสื่อ” ของ
ผู้รับส�รเอง ซึ่งร�ยง�น “กรอบคว�มเห็นร่วมปฏิรูปประเทศไทย ด้�นสื่อส�ร
มวลชน” ซึ่งจัดทำ�โดยสำ�นักปลัดกระทรวงกล�โหม ได้ให้ข้อเสนอแนะถึง
ก�รมีส่วนร่วมของผู้รับส�ร ต่อก�รแก้ไขปัญห�สื่อไม่สร้�งสรรค์ในสังคม ดังนี้
1. ควรส่งเสริมให้บริโภคสื่อสังคมและเครือข่�ยสังคมด้วยคว�มรับผิดชอบ
• บริโภคสื่อเครือข่�ยสังคมอย่�งระมัดระวัง และเป็นไปต�มกฎหม�ย
อ�ทิ ไม่ส่งเสริมก�รละเมิดลิขสิทธิ์
• ควรมีก�รพินิจเนื้อห�สื่อด้วยสติ เมื่อรับข้อมูลใด ควรตรวจสอบ
ถึงแหล่งที่ม�ของข้อมูล เทียบเคียงข้อมูลข่�วส�รที่ปร�กฏในสื่ออื่น
วิเคร�ะห์ถึงเจตน�ของข่�ว หรืออิสระแอบแฝงว่�มีม�ด้วยหรือไม่
• ควรระมัดระวังมิให้ตกเป็นเครื่องมือของก�รโฆษณ�ชวนเชื่อ
และก�รสื่อส�รที่มุ่งสร้�งคว�มเกลียดชัง
• ในฐ�นะของ “ผู้ใช้สื่อ” ซึ่งผู้รับส�รในปัจจุบันได้กล�ยเป็นทั้ง
ผู้ชม ผู้อ่�น ผู้ฟัง และกล�ยเป็นสื่อที่คิด เขียน บอกเล่� แชร์
และส่งต่อร�ยง�นออกไป ต้องเข้�ใจบทบ�ทของตนเองด้วยว่�
เครือข่�ยสังคมนั้นมิใช่พื้นที่ส่วนตัวแต่เป็นพื้นที่ส�ธ�รณะ ซึ่งต้อง
มีคว�มรับผิดชอบ
• ก�รแชร์สื่อหรือข้อคว�ม ควรระวังไม่สร้�งคว�มเกลียดชังให้
ขย�ยวงกว้�งม�กขึ้นในสังคม
2. ควรจัดตั้งเครือข่�ยพลังพลเมือง โดยก�รสนับสนุนจ�กทุกภ�คส่วน
เพื่อทำ�หน้�ที่ติดต�มก�รทำ�ง�นของสื่อทุกประเภท ตลอดจน ติดต�ม
ก�รทำ�ง�นของหน่วยง�นภ�ครัฐ และองค์กรอิสระที่มีหน้�ที่ดูแลกำ�กับสื่อด้วย
3. ควรกำ�หนดให้ผู้ขอรับใบอนุญ�ตประกอบกิจก�รกระจ�ยเสียงและ
กิจก�รโทรทัศน์ทุกประเภทจัดให้มีกลไกก�รมีส่วนร่วมของตัวแทนผู้ชมผู้ฟัง