Page 184 - kpi20488
P. 184

สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข  183






                       3)  การกระจายอำานาจในการตัดสินใจจากองค์กรกำากับ
                 ดูแลภาครัฐให้คณะกรรมการควบคุมจริยธรรม
                       อ�ทิ ก�รให้คณะกรรมก�รควบคุมจริยธรรมมีอำ�น�จในก�รลงโทษ
                 ในระดับที่ม�กกว่� คณะกรรมก�รจริยธรรมวิช�ชีพในระดับองค์กรวิช�ชีพ




                       4)  มาตรการรองรับจากภาครัฐ (Regulatory Backstop)
                       ในกรณีที่ก�รกำ�กับดูแลกันเองล้มเหลว เพื่อส่งเสริมให้เกิดก�รปฏิบัติต�ม
                 Code Of Conduct ขององค์กรวิช�ชีพ ซึ่งรูปแบบของม�ตรก�รรองรับจ�ก
                 ภ�ครัฐจ�กตัวอย่�งในต่�งประเทศ เช่น
                       1) องค์กรกำ�กับดูแลภ�ครัฐ จะเป็นคนตัดสินกรณีที่มีเรื่องร้องเรียน
                 ของผู้ประกอบก�ร ซึ่งไม่ได้เป็นสม�ชิกองค์กรวิช�ชีพใดๆ เลย
                       2) ห�กกรณีคณะกรรมก�รจริยธรรมวิช�ชีพเห็นว่� ผู้ประกอบก�ร
                 ร�ยใดทำ�ผิดซ้ำ�ๆ บ่อยๆ อ�จนำ�เสนอกรณีดังกล่�วต่อองค์กรกำ�กับดูแลภ�ครัฐ
                 เพื่อใช้อำ�น�จต�มกฎหม�ยในก�รตัดสินได้
                       •  องค์กรกำ�กับดูแลภ�ครัฐ อ�จแต่งตั้งคณะกรรมก�รควบคุมจริยธรรม
                          ชุดใหม่ได้ ห�กคณะกรรมก�รฯ ดังกล่�วปฏิบัติหน้�ที่ไม่เป็นไป

                          ต�มอำ�น�จหน้�ที่ หรือใช้อำ�น�จหน้�ที่เกินควร (ตรงนี้ต้องขึ้นอยู่
                          กับเงื่อนไขตอนจัดตั้งคณะกรรมก�รฯ)



                       5)  คณะกรรมการอุทธรณ์ (Appeal Board)
                       คณะกรรมก�รควบคุมจริยธรรมวิช�ชีพต�มโมเดลนี้ มีสถ�นะเป็น
                 องค์กรกำ�กับดูแลร่วมกัน (Co-Regulatory Body) ที่ทำ�หน้�ที่เสมือนเกร�ะป้องกัน
                 อำ�น�จจ�กองค์กรภ�ครัฐ และช่วยให้ก�รกำ�กับดูแลกันเองมีประสิทธิภ�พ

                 ม�กขึ้น รวมถึงช่วยคุ้มครองผู้บริโภคในกรณีที่คณะกรรมก�รจริยธรรมวิช�ชีพ
                 ไม่มีประสิทธิภ�พในก�รแก้ไขเยียวย�เรื่องร้องเรียน ในกรณี
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189