Page 185 - kpi20488
P. 185

184  สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข






                   1) ผู้ประกอบก�รที่ถูกร้องเรียนเห็นว่�คำ�ตัดสินของคณะกรรมก�ร
             จริยธรรมวิช�ชีพไม่เป็นธรรม
                   2) ผู้บริโภคที่ยื่นเรื่องร้องเรียนไปยังผู้ประกอบก�รและ/หรือคณะกรรมก�ร
             จริยธรรมวิช�ชีพ แล้วยังไม่ได้รับคำ�ตอบหรือก�รเยียวย�ที่พึงพอใจในระยะ
             เวล�หนึ่ง


                   เช่นเดียวกับ ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจว�นิชย์ หัวหน้�โครงก�รวิจัย “ก�ร
             กำ�กับดูแลสื่อในยุคหลอมรวม” (2559) เสนอให้มีกลไกก�รกำ�กับดูแลร่วม
             (Co-Regulation) เพื่อหนุนเสริมก�รกำ�กับดูแลตนเองของผู้ประกอบก�รสื่อ

             แต่ละร�ย (เช่น ก�รพิจ�รณ�เรื่องร้องเรียนของสถ�นีโทรทัศน์แต่ละช่อง) และ
             ก�รกำ�กับดูแลกันเอง  (Self-Regulation)  โดยองค์กรวิช�ชีพสื่อมวลชน
             (เช่น ก�รพิจ�รณ�เรื่องร้องเรียนของสภ�วิช�ชีพข่�ววิทยุและโทรทัศน์ไทย)
             เนื่องจ�กที่ผ่�นม�ก�รกำ�กับดูแลกันเองโดยองค์กรวิช�ชีพสื่อนั้นไม่ค่อยมี
             ประสิทธิผลนัก จ�กก�รที่กำ�หนดให้ผู้ประกอบก�รเข้�ร่วมโดยสมัครใจ และ
             คำ�ตัดสินที่ไม่มีผลผูกพัน
                   ทั้งนี้ ก�รกำ�กับดูแลร่วมเป็นก�รผสมผส�นข้อดีของก�รกำ�กับดูแล
             ของรัฐ ซึ่งกลไกบังคับใช้มีประสิทธิภ�พ เพร�ะมีบทลงโทษต�มกฎหม�ย
             แต่มีข้อเสียม�กม�ย โดยเฉพ�ะก�รเปิดโอก�สให้รัฐแทรกแซงสื่อ กับก�รกำ�กับ

             ดูแลกันเองขององค์กรวิช�ชีพสื่อ ซึ่งมีจุดอ่อนดังกล่�วข้�งต้น ต้องไม่มีตัวแทน
             ภ�ครัฐเกี่ยวข้อง
                   สำ�หรับแนวท�งในก�รกำ�กับดูแลร่วมมีหล�ยวิธี เช่น ก�รให้สภ�วิช�ชีพ
             วินิจฉัยคว�มถูกผิดด้�นจริยธรรม  และให้รัฐช่วยบังคับบทลงโทษต�ม
             ข้อวินิจฉัยให้มีผลไปจนถึงก�รให้สื่อกำ�กับดูแลกันเองเป็นหลัก และเสริมด้วย
             ก�รกำ�กับดูแลโดยรัฐ เช่น กสทช. เป็นด่�นสุดท้�ย ห�กก�รกำ�กับดูแลกันเอง
             ไม่มีประสิทธิผล บนฐ�นของคว�มเชื่อเรื่องเสรีภ�พสื่อ ซึ่งถูกกำ�กับโดยม�ตรฐ�น
             จริยธรรมท�งวิช�ชีพ ไม่ใช่บนฐ�นคว�มคิดที่รัฐเข้�ไปควบคุมสื่อ
   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190