Page 84 - kpi20366
P. 84

24) ไม่น าเสนอหรือท าการส่งต่อข้อมูลที่มีเนื้อหาที่สุ่มเสี่ยงต่อการละเมิด

                                         กฎหมาย


                                     25) ไม่น าเสนอข้อมูลที่น าไปสู่การแบ่งฝักแบ่งฝ่ายทางการเมือง หรือขยาย/

                                         ซ ้าเติมความแตกแยกของคนในสังคม



                       นอกจากการพัฒนาชุดตัวชี้วัดแล้ว ผู้วิจัยยังได้ด าเนินการจัดท าแบบทดสอบเพื่อเป็นเครื่องมือ

               ส าหรับวัดการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชนในการศึกษาวิจัยครั้งต่อไป โดยแบบทดสอบที่จัดท า

               ขึ้น ใช้รูปแบบข้อสอบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จ านวนทั้งหมด 26 ข้อ ข้อสอบแต่ละข้อวัดการรู้เท่าทันสื่อ

               สังคมออนไลน์ของเยาวชนในด้านต่างๆ ที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้น เช่น การวัดการรู้เท่าทันสื่อ

               ด้านการโต้แย้งโดยใช้หลักเหตุผลและเคารพความคิดที่เห็นต่าง การวัดด้านการวิเคราะห์และตีความ
               ความหมายของข้อมูล การวัดด้านการผลิตสื่ออย่างสร้างสรรค์ที่ไม่น าไปสู่การสร้างความแตกแยกของ

               คนในชาติ การวัดด้านการใช้ภาษาแบบสันติวิธีที่ไม่น าไปสู่การยั่วยุ ปลุกปั่น เป็นต้น (โปรดดูภาคผนวก

               ข)


               5.2  ข้อเสนอแนะในการน าตัวชี้วัดไปใช้


                       สถานศึกษาต่างๆ สามารถน าตัวชี้วัดและแบบทดสอบการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชน

               เพื่อการเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยที่โครงการฯ พัฒนาขึ้นไปใช้ประเมินระดับการรู้เท่าทันสื่อ

               สังคมออนไลน์ของนักเรียนมัธยมปลายและนิสิตนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา และให้ความรู้เพิ่มเติมแก่
               นักเรียนและนักศึกษาในด้านที่พบว่าระดับการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของนักเรียนนักศึกษาอยู่ใน

               ระดับต ่า



               5.3  ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

                       ในการส่งเสริมให้เกิดการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ในกลุ่มเด็กและเยาวชนจ าเป็นต้องบูรณาการ

               ความร่วมมือทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และประชาชน เพื่อสร้างความตระหนัก

               หรือส านึกสาธารณะ (public awareness) ถึงผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อเยาวชนและสังคมใน

               ภาพรวม เพื่อสร้าง “ภูมิคุ้มกัน” ในการบริโภคสื่อให้กับเด็ก เยาวชน และนิสิตนักศึกษาที่บริโภคข้อมูล

               ข่าวสารอย่างท่วมท้นผ่านสื่อสังคมออนไลน์ในแต่ละวัน











                                                           75
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89