Page 202 - kpi19910
P. 202
192
ไม่เห็นด้วย ต้องการให้เกิดการยกเลิกจึงเป็นเรื่องที่ยากมาก แต่อย่างไรก็ตาม ภาครัฐเองให้ความส าคัญ
กับประชาชนในพื้นที่และไม่ต้องการให้เกิดความรุนแรงที่น าไปสู่ความขัดแย้ง ซึ่งจะส่งผลต่อการ
ด ารงชีวิตของประชาชน และส่งผลต่อการพัฒนาของประเทศในพื้นที่ที่มีความตกลงร่วมกันระหว่าง
ประเทศในการน ามาซึ่งผลดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืนของประเทศในอนาคต
ดังนั้น เมื่อโครงการตามแนวนโยบายภาครัฐเกิดขึ้นและส่งผลกระทบซึ่งน าไปสู่ความ
ขัดแย้งระหว่างภาครัฐและประชาชนในพื้นที่ภาคใต้ จึงมีกระบวนการจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
ภาคใต้ ดังนี้
ตารางที่ 2 สรุปวิธีการจัดการความขัดแย้งในพื้นที่ภาคใต้
วิธีการจัดการความขัดแย้ง จ านวนครั้ง หมายเหตุ
1. การท าเวทีประชาพิจารณ์/แสดงความคิดเห็น 18 กรณีศึกษา
2. การยื่นหนังสือต่อผู้มีอ านาจ 19 สามารถมี
3. การใช้กระบวนการยุติธรรมตัดสิน 7 วิธีการจัดการ
4. การสื่อสารโดยใช้ข้อมูล 8 ความขัดแย้งได้
5. กระบวนการพูดคุย เจราจา ด้วยสันติ 8 มากกว่า 1 วิธี
6. การใช้คนกลางเพื่อการแก้ไขปัญหา 4 จากกรณีศึกษา
7. การใช้กระบวนการวิจัย/ประชุมเชิงปฏิบัติการ 4 55 โครงการ
8. การลงพื้นที่ 4
9. การสร้างกลไกแก้ไขปัญหา 2
10. จัดท าบันทึกข้อตกลง 2
11. การเยียวยา 2
12. การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น 1
13. คณะท างาน 1
14. เดินรณรงค์ 1
รวม 81
5.2.3 แผนที่ความขัดแย้ง (Conflict Mapping) โครงการตามแนวนโยบายภาครัฐใน
พื้นที่ภาคใต้
โครงการตามแนวนโยบายภาครัฐซึ่งสร้างความขัดแย้งอย่างมากมายมีทั้งกลุ่มที่ให้การ
สนับสนุน กลุ่มคัดค้าน กลุ่มเป็นกลาง หน่วยงานภาครัฐที่มีบทบาทหน้าความรับผิดขอบที่เกี่ยวข้องทั้ง
ทางตรง ทางอ้อม คนกลางที่เข้ามีช่วยเหลือ เจรจา สามารถสรุปได้ดังนี้