Page 17 - kpi19842
P. 17

“กระบวนการเป็นผู้น าแบบทางการและการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยภูเขา กรณีศึกษากลุ่มชาติพันธุ์
                    ชาวไทยภูเขา อ าเภอคลองลาน จังหวัดก าแพงเพชร”  โดย  โอกามา จ่าแกะ  ผศ.ณัฏฐวุฒิ  ทรัพย์อุปถัมภ์  ชลกานดาร์  นาคทิม





               1.4  กรอบแนวคิดของการวิจัย

                       การวิจัยนี้เป็นการศึกษากระบวนการเป็นผู้น าแบบทางการและการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่น

               ของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยภูเขา กรณีศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยภูเขา อ าเภอคลองลาน จังหวัดก าแพงเพชร
               คณะผู้วิจัยใช้แนวคิดต่างๆ เป็นฐานในการด าเนินการวิจัย คือ แนวคิดการกระจายอ านาจ  แนวคิดการ

               เปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม (Culture and Social Change) แนวคิดพหุวัฒนธรรม  แนวคิด

               เกี่ยวกับการปรับตัว  แนวคิดอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์  เป็นกรอบการวิจัยโดยเชื่อว่ากระบวนการเป็นผู้น า
               แบบทางการและการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยภูเขา มีฐานมาจากการ

               กระจายอ านาจ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมและการปรับตัวท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการ
               พัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของกลุ่มชาติพันธุ์  เมื่อผู้วิจัยศึกษาตามกรอบแนวคิด ผลลัพธ์ที่ได้จะ

               น าไปสู่วัตถุประสงค์ของการวิจัย



                         วิถีชีวิต (อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์,

                         พหุวัฒนธรรม) และการปรับตัว

                                                                    พัฒนาการการเป็นผู้น าแบบทางการ


                      การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
                                                                           สาเหตุและปัจจัย
                                                                       ในการเป็นผู้น าแบบทางการ





                        ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย            พฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมือง
                                                                           ในระดับท้องถิ่น



               1.5  ประโยชน์ที่ได้รับ


                       1.5.1  ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสิทธิ การเข้าถึง และการมีโอกาสทางการเมืองในระดับท้องถิ่นของกลุ่ม
               ชาติพันธุ์ชาวไทยภูเขาในพื้นที่อ าเภอคลองลาน จังหวัดก าแพงเพชร


                       1.5.2  เป็นการเปิดพื้นที่ทางการเมืองสาธารณะของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยภูเขา ในการมีส่วนร่วม
               ทางการเมืองในระดับท้องถิ่น


                       1.5.3  หน่วยงานรัฐและเอกชนรวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลเพื่อ
               ด าเนินการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมทางการเมืองให้กับกลุ่มชาติพันธุ์ชาวไทยภูเขาได้







                                                         16
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22