Page 71 - kpi19815
P. 71
70 การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 71
ลงคะแนนหลายเสียงแก่บุคคลบางประเภทที่มีคุณสมบัติบางประการ เสียงในเขตเลือกตั้งที่มีจำานวนประชากรมากกว่า ยกตัวอย่างเช่น
มากกว่าบุคคลธรรมดา ในขณะที่บุคคลทั่วไปมีสิทธิลงคะแนนเพียง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี ค.ศ. 2002 เขตเลือกตั้งที่ 21
เสียงเดียว เช่นในประเทศเบลเยียมในปี ค.ศ. 1893 ซึ่งสิทธิดังกล่าว ของเมือง Val d’Oise มีจำานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 188,200 คน ในขณะที่
ปรากฏอยู่ในระบบการเมืองเบลเยียมอยู่ถึง 26 ปี ต้องรอจนกระทั่ง เขตเลือกตั้งที่ 2 ของเมือง Lozère มีจำานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 37,443 คน
ปี ค.ศ. 1919 รัฐธรรมนูญเบลเยียมจึงได้กำาหนดไว้ในมาตรา 47 ว่า จะเห็นได้ว่าเขตเลือกตั้งข้างต้นมีจำานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งต่างกันถึงกว่า
“ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ผู้มีสิทธิเลือกตั้งแต่ละคน 5 เท่า แต่ทั้ง 2 เขตเลือกตั้งกลับมีจำานวนผู้แทนราษฎรเท่ากันคือ 1 คน
มีสิทธิลงคะแนนได้เพียงหนึ่งเสียง” ส่วนในปัจจุบัน ความไม่เท่าเทียม คะแนนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้งเขตที่ 2 ของเมือง Lozère จึงมีนำ้าหนัก
อันเกิดจากการลงคะแนนหลายเสียงนั้นยังคงปรากฏอยู่ในบางรัฐ มากกว่าคะแนนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้งเขตที่ 12 ของเมือง Val d’Oise 29
โดยเฉพาะรัฐที่ใช้ระบบการเลือกตั้งเสียงข้างมากเขตละหลายคน กล่าวคือ อาจกล่าวได้ว่า การเลือกตั้งโดยเท่าเทียมจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตการเลือกตั้งที่มีจำานวนที่นั่งของสมาชิกสภาผู้แทน ผู้มีสิทธิเลือกตั้งแต่ละคนมีสิทธิในการลงคะแนนเสียงเท่ากัน และการแบ่ง
ราษฎรหลายคนจะมีสิทธิในการลงคะแนนหลายเสียง ในขณะที่ผู้มีสิทธิ เขตการเลือกตั้งจะต้องคำานึงถึงจำานวนประชากร (ไม่ใช่จำานวนผู้มีสิทธิ
เลือกตั้งในเขตเลือกตั้งที่มีจำานวนที่นั่งของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียง เลือกตั้งเนื่องจากผู้แทนราษฎรเป็นผู้แทนของประชาชนทุกคนรวมทั้ง
1 ที่นั่งจะมีสิทธิในการลงคะแนนเพียง 1 เสียง ดังนั้น ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ผู้ที่ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง) ในแต่ละเขตมิให้มีจำานวนที่แตกต่างกันจนเกินไป 30
ในเขตเลือกตั้งที่มีขนาดใหญ่กว่าจะมีสิทธิในการลงคะแนนเสียงที่
มากกว่าผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งที่มีขนาดเล็กกว่า ส่งผลให้ 2.1.3 การเลือกตั้งโดยตรง
การเลือกตั้งในรัฐเช่นว่านั้นไม่ใช่การเลือกตั้งโดยเท่าเทียม ตัวอย่างของ การเลือกตั้งโดยตรง (scrutin direct) คือการเลือกตั้งที่ผู้มีสิทธิ
31
การใช้ระบบการเลือกตั้งดังกล่าวปรากฏในรัฐธรรมนูญไทยหลายฉบับ เลือกตั้งแสดงเจตจำานงกำาหนดตัวผู้แทนโดยตรง ซึ่งแตกต่างจากกรณี
ความไม่เท่าเทียมอันเกิดจากการแบ่งเขตเลือกตั้ง (inégalité ของการเลือกตั้งโดยอ้อม (scrutin indirect) ที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่สามารถ
des circonscriptions) เป็นกรณีที่มีการแบ่งเขตเลือกหลายเขตตั้ง แสดงเจตจำานงกำาหนดตัวผู้แทนได้โดยตรง แต่ต้องแสดงเจตจำานงผ่าน
28
ตามพื้นที่ต่างๆ ในรัฐ โดยแต่ละเขตมีจำานวนประชากรแตกต่างกัน การกำาหนดตัวบุคคลกลางที่จะแสดงเจตนากำาหนดตัวผู้แทนอีกทอดหนึ่ง
อย่างมีนัยสำาคัญแต่มีจำานวนผู้แทนราษฎรเท่ากัน คะแนนเสียงในเขต
เลือกตั้งที่มีจำานวนประชากรน้อยกว่าย่อมมีนำ้าหนักมากกว่าคะแนน
29 โปรดดู ฐากูร ศิริยุทธ์วัฒนา. อ้างแล้ว. หน้า 167
30
คณะตุลาการรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสเคยวินิจฉัยไว้ว่าความแตกต่างของจำานวน
ประชากรในแต่ละเขตเลือกตั้งไม่ควรจะมีจำานวนมากกว่าร้อยละ 20; โปรดดู ARDANT, P. &
28 BARTHÉLEMY, J. & DUEZ, P. Ibid. pp. 348 – 349; ARDANT, P. & MATHIEU, B. Ibid. MATHIEU, B. Ibid. p. 203
pp. 202 – 203 31 Ibid. pp. 208 – 209; BARTHÉLEMY, J. & DUEZ, P. Ibid. p. 375