Page 66 - kpi19815
P. 66
64 การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 65
19
การกำาหนดตัวผู้แทนราษฎรด้วยวิธีการเลือกตั้งควรแบ่งเป็น 2 ส่วน สิทธิเลือกตั้งที่ถูกจำากัดโดยการชำาระภาษี (suffrage censitaire)
อันประกอบไปด้วย “หลักพื้นฐานว่าด้วยสิทธิเลือกตั้ง” ประการหนึ่ง และ หมายถึงสิทธิเลือกตั้งที่สงวนไว้สำาหรับบุคคลที่ชำาระภาษีตามเกณฑ์
“การประกันความสุจริตและเที่ยงธรรมของการเลือกตั้ง”อีกประการหนึ่ง ที่รัฐกำาหนด เนื่องจากเข้าใจว่าบุคคลที่มีสถานะทางเศรษฐกิจดีจะมี
วิจารณญาณที่ดีกว่าบุคคลทั่วไป ทั้งนี้ การจำากัดสิทธิเลือกตั้งโดย
2.1 หลักพื้นฐ�นว่�ด้วยสิทธิเลือกตั้ง การชำาระภาษีส่งผลกระทบต่อความชอบธรรมในทางประชาธิปไตย
โดยเฉพาะในแง่ของจำานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง กล่าวคือ การกำาหนดว่า
เป็นเวลานานนับศตวรรษที่นักวิชาการทั้งทางด้านนิติศาสตร์ บุคคลจะได้รับสิทธิเลือกตั้งก็ต่อเมื่อชำาระภาษีตามจำานวนที่รัฐกำาหนด
และรัฐศาสตร์ต่างถกเถียงกันในประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับ “สิทธิเลือกตั้ง” ทำาให้มีบุคคลผู้มีสิทธิเลือกตั้งน้อยเป็นอย่างยิ่ง นอกจากนี้ หากมีการ
(droit électoral) อย่างไรก็ตามนับแต่ช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ปรับขึ้นภาษีก็จะมีจำานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งน้อยลงกว่าเดิม ยกตัวอย่าง
การอภิปรายในประเด็นดังกล่าวค่อนข้างจะหยุดนิ่ง เนื่องจากหลักการ เช่น รัฐธรรมนูญฝรั่งเศสฉบับปี ค.ศ. 1791 กำาหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ต่างๆ เกี่ยวกับสิทธิเลือกตั้งได้ตกผลึกทางวิชาการแล้วพอสมควร คือบุคคลที่ชำาระภาษีเป็นจำานวนเท่ากับรายได้สามวันทำางาน ข้อจำากัด
จนสามารถสรุปเป็นหลักพื้นฐานว่าด้วยสิทธิเลือกตั้งได้ โดยหลักพื้นฐาน ดังกล่าวส่งผลให้มีผู้มีสิทธิเลือกตั้งเพียงร้อยละ 16 ของจำานวนประชากร
เหล่านี้สามารถปรับใช้ได้ในลักษณะที่เป็นสากล กล่าวคือสามารถนำา ทั้งหมดและการปรับขึ้นภาษีในเวลาต่อมาได้ส่งผลให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ไปปรับใช้ได้กับบรรดาประเทศที่ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย เหลือเพียงร้อยละ 0.3 ของจำานวนประชากรทั้งหมด ส่วนในประเทศ
หลักพื้นฐานดังกล่าวสามารถแบ่งออกเป็น 5 ส่วนดังต่อไปนี้ อังกฤษมีการกำาหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งคือบุคคลที่ชำาระภาษีเป็นจำานวน
2.1.1 สิทธิเลือกตั้งโดยทั่วไป ขั้นตำ่า 10 ปอนด์ ข้อจำากัดดังกล่าวส่งผลให้มีผู้มีสิทธิเลือกตั้งเพียง
ร้อยละ 4 ของจำานวนประชากรทั้งหมดในปี ค.ศ. 1831
เมื่อระบอบประชาธิปไตยโดยผู้แทนได้เริ่มก่อตัวขึ้นใน
ระยะแรกในช่วงปลายศตวรรษที่ 18 ถึงศตวรรษที่ 19 สิทธิเลือกตั้ง สิทธิเลือกตั้งที่ถูกจำากัดโดยความสามารถ (suffrage
20
เป็นสิทธิที่ถูกจำากัดไว้สำาหรับบุคคลบางประเภทที่มีคุณสมบัติพิเศษ capacitaire) หมายถึง สิทธิเลือกตั้งที่สงวนไว้สำาหรับบุคคลมีการศึกษา
บางประการเหนือกว่าบุคคลส่วนใหญ่ เรียกว่า “สิทธิเลือกตั้งโดยจำากัด”
(suffrage restreint) ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของชาติ 19
HAMON, F. & TROPER, M. (2013). Droit constitutionnel. 22ème edition. Paris: L.G.D.J.
สิทธิเลือกตั้งแบบจำากัดนั้นถูกจำาแนกเป็น 2 ประเภทซึ่งประกอบไปด้วย p. 137; GICQUEL, J. & GICQUEL, J.E. op.cit. p. 170 – 171; ARDANT, P. & MATHIEU,
สิทธิเลือกตั้งที่ถูกจำากัดโดยการชำาระภาษีประการหนึ่ง และสิทธิเลือกตั้ง B. Ibid. pp. 195 – 196; BARTHÉLEMY, J. & DUEZ, P. op.cit. pp. 292 – 293; ฐากูร
ที่ถูกจำากัดโดยความสามารถอีกประการหนึ่ง ศิริยุทธ์วัฒนา. อ้างแล้ว. หน้า 158 - 159
20
GICQUEL, J. & GICQUEL, J.E. Ibid. p. 171; ARDANT, P. & MATHIEU, B. Ibid.
p. 197; BARTHÉLEMY, J. & DUEZ, P. Ibid. pp. 293 – 294; ฐากูร ศิริยุทธ์วัฒนา.
อ้างแล้ว. หน้า 159 - 160