Page 67 - kpi19815
P. 67

66                                                                                                               การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง  67


           หรือความสามารถบางประการตามที่รัฐกำาหนด ด้วยเหตุที่เข้าใจว่า                            สิทธิเลือกตั้งที่ถูกกำาหนดโดยเพศจึงสิ้นสุดลงในช่วงกลางศตวรรษที่ 20  21

           บุคคลที่มีการศึกษาหรือความสามารถบางประการมากกว่าบุคคลทั่วไป                                     ในปัจจุบันสิทธิเลือกตั้งโดยทั่วไปถือเป็นหลักพื้นฐานของ
           จะมีวิจารณญาณในการกำาหนดตัวผู้แทนราษฎรได้ดีกว่า ซึ่งข้อจำากัด                          ระบอบประชาธิปไตยโดยผู้แทน การจำากัดสิทธิเลือกตั้งโดยการชำาระภาษี
           เช่นว่านั้นมักกำาหนดโดยใช้ความสามารถในการอ่านออกเขียนได้และ                            โดยการศึกษาหรือโดยเพศล้วนไม่เป็นที่ยอมรับอีกต่อไป แต่อย่างไรก็ตาม

           วุฒิการศึกษาเป็นหลัก เช่นกรณีของประเทศอิตาลีก่อนปี ค.ศ. 1912                           สิทธิเลือกตั้งโดยทั่วไปก็ยังปรากฏข้อจำากัดที่มีลักษณะเป็นสากลอยู่ทั้งสิ้น
           พระราชบัญญัติลงวันที่ 22 มกราคม 1882 กำาหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง                      4 ประการอันได้แก่ การจำากัดสิทธิเลือกตั้งโดยสัญชาติ การจำากัดสิทธิ

           คือผู้ที่สามารถพิสูจน์ได้ว่าตนเองมีความสามารถในการอ่านออก                              เลือกตั้งโดยอายุ การจำากัดสิทธิเลือกตั้งโดยอาการป่วยทางจิต และ
           เขียนได้ และมีวุฒิการศึกษาตามเกณฑ์ที่กำาหนดซึ่งอาจพิสูจน์โดย                           การจำากัดสิทธิเลือกตั้งโดยการกระทำาความผิด
           ประกาศรับรองการสอบที่จัดโดยหน่วยงานของรัฐหรือมีปริญญาบัตร
                                                                                                                                                    22
           ที่ออกโดยมหาวิทยาลัย                                                                            การจำากัดสิทธิเลือกตั้งโดยสัญชาติ (nationalité) เป็นกรณีที่
                                                                                                  รัฐกำาหนดให้บุคคลที่มีสัญชาติของรัฐนั้นเป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ซึ่งถือเป็น
                   สิทธิเลือกตั้งโดยจำากัดทั้ง 2 ประเภทค่อยๆ ถูกยกเลิกไป                          หลักทั่วไปเนื่องจากบุคคลที่เป็นสมาชิกของรัฐเท่านั้นที่สมควรจะมีสิทธิ

           จนกระทั่งสิ้นผลไปราวช่วงต้นศตวรรษที่ 20 สิทธิเลือกตั้งแบบจำากัด                        ในการแสดงเจตจำานงเพื่อกำาหนดทิศทางทางการเมืองผ่านการเลือกตั้ง
           จึงกลายสภาพเป็นสิทธิเลือกตั้งโดยทั่วไป (suffrage universel) ซึ่งเป็น                   ผู้แทนราษฎร (élection législative) อย่างไรก็ตาม ในกรณีของการเลือกตั้ง

           สิทธิเลือกตั้งที่ไม่มีข้อจำากัดที่เกิดจากการชำาระภาษีหรือความรู้ความ                   สมาชิกสภาเทศบาล (élection municipale) ในประเทศฝรั่งเศส โดยผล
           สามารถ แต่สิทธิเลือกตั้งโดยทั่วไปในระยะแรกก็ยังคงมีข้อจำากัดเกี่ยวกับ                  ของสนธิสัญญา Maastricht และรัฐบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
           เพศปรากฏอยู่ กล่าวคือสิทธิเลือกตั้งโดยทั่วไปในระยะแรกยังคงกำาหนด                       สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลของบุคคลต่างด้าว ลงวันที่ 25 พฤษภาคม

           ให้บุคคลเพศชายเท่านั้นเป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้ง การกำาหนดให้บุคคล                        1998 บุคคลต่างด้าวที่มีสัญชาติของประเทศสมาชิกแห่งสหภาพยุโรป
           เพศหญิงมีสิทธิเลือกตั้งเริ่มมีขึ้นครั้งแรกที่มลรัฐ Wyoming ประเทศ                      และพำานักอยู่ในประเทศฝรั่งเศสมีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล

           สหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1869 และมลรัฐอื่นๆ ในเวลาต่อมา ยกตัวอย่าง                        ในประเทศฝรั่งเศส
           เช่น มลรัฐ Corolado ในปี ค.ศ. 1893 มลรัฐ Utah และ Idaho ในปี ค.ศ.
           1896 จากนั้นจึงเริ่มมีการยกเลิกข้อจำากัดเรื่องเพศในประเทศอื่นๆ ตามมา

           ได้แก่ ประเทศฟินแลนด์ในปี ค.ศ. 1906 ประเทศนอร์เวย์และประเทศ                            21   BARTHÉLEMY, J. & DUEZ, P. Ibid. pp. 312 – 315; BALINSKI, M. (2004). Le suffrage
           เดนมาร์กในปี ค.ศ. 1913 ประเทศอังกฤษในปี ค.ศ. 1918 ประเทศ                               universel inachevé. Paris: Belin. pp. 31 – 35; GICQUEL, J. & GICQUEL, J.E. Ibid.
                                                                                                  p. 171; ARDANT, P. & MATHIEU, B. Ibid. pp. 197 – 198
           สวีเดนในปี ค.ศ. 1920 ประเทศเบลเยียมในปี ค.ศ. 1921 ประเทศ                               22   GICQUEL, J. & GICQUEL, J.E. Ibid. p. 171; ARDANT, P. & MATHIEU, B. Ibid.
           ฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1944 และประเทศอิตาลีในปี ค.ศ. 1945 เป็นต้น                           pp. 199 – 200; BARTHÉLEMY, J. & DUEZ, P. Ibid. pp. 311 – 312; ฐากูร ศิริยุทธ์วัฒนา.
                                                                                                  อ้างแล้ว. หน้า 162
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72