Page 70 - kpi19815
P. 70

68                                                                                                               การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง  69


                   การจำากัดสิทธิเลือกตั้งโดยโดยอายุ (majorité électorale) 23                     เลือกตั้ง (Privation du droit de vote) โดยตรง ดังนั้น แม้เป็นบุคคลที่

           เป็นกรณีที่รัฐกำาหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะต้องมีอายุครบตามเกณฑ์                      ต้องโทษทางอาญาและถูกจองจำาอยู่ก็อาจเป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้งได้หาก
           ซึ่งเกณฑ์ดังกล่าวอาจกำาหนดไว้แตกต่างกันในแต่ละรัฐโดยส่วนใหญ่                           ไม่มีคำาพิพากษาของศาลสั่งให้เพิกถอนสิทธิดังกล่าว โดยในปี ค.ศ. 1998
           จะกำาหนดให้ตรงกับเกณฑ์ในการบรรลุนิติภาวะ (majorité civile) ซึ่ง                        มีผู้ถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งด้วยเหตุดังกล่าวเป็นจำานวน 8,879 คน

           ในปัจจุบันมักจะกำาหนดไว้อยู่ระหว่าง 18 – 20 ปีบริบูรณ์ มีเพียง                         ส่วนในบางรัฐ เช่นประเทศไทย บุคคลที่ต้องคำาพิพากษาถึงที่สุดให้จำาคุก
           บางประเทศที่กำาหนดเกณฑ์ในการมีสิทธิเลือกตั้งและการบรรลุนิติภาวะ                        จะถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งโดยผลของกฎหมายทันที ไม่จำาเป็นต้องมี

           ไว้แตกต่างกัน เช่น ประเทศไทยกำาหนดให้ผู้มีอายุครบ 18 ปีบริบูรณ์                        คำาพิพากษาให้เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งโดยตรง
           มีสิทธิเลือกตั้ง ในขณะที่เกณฑ์ในการบรรลุนิติภาวะอยู่ที่ 20 ปีบริบูรณ์
                                                                                                          2.1.2 การเลือกตั้งโดยเท่าเทียม
                   การจำากัดสิทธิเลือกตั้งโดยอาการป่วยทางจิต (maladies                                    การเลือกตั้งโดยเท่าเทียม (suffrage égal) เป็นหลักการพื้นฐาน
                                                                                                                                             26
                   24
           mentales)  เป็นกรณีที่รัฐกำาหนดห้ามมิให้บุคคลที่มีอาการป่วยทางจิต                      อีกประการหนึ่งของระบอบประชาธิปไตยโดยผู้แทนสมัยใหม่ หลักการ
           ถึงขนาดไม่มีวิจารณาญาณเทียบเท่าบุคคลทั่วไปมีสิทธิเลือกตั้ง ทั้งนี้                     ดังกล่าวให้ความสำาคัญกับความเท่าเทียมของ “คะแนนเสียง” (voix)
           มิใช่บุคคลที่มีปัญหาด้านสุขภาพจิตทุกประเภทจะถูกตัดสิทธิเลือกตั้ง                       ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งแต่ละคน กล่าวคือคะแนนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง

           เสมอไป การจำากัดสิทธิด้วยเหตุดังกล่าวขึ้นอยู่กับข้อกำาหนดของแต่ละรัฐ                   แต่ละคนจะต้องมีนำ้าหนักเท่ากัน บางครั้งอาจเรียกว่าเป็นหลัก “หนึ่งคน
           เช่น ประเทศฝรั่งเศสกำาหนดให้บุคคลไร้ความสามารถตามคำาสั่งศาล                            หนึ่งเสียง” (Un home, une voix) ในปัจจุบันยังคงปรากฏความไม่เท่าเทียม

           (majeur en tutelle) ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง เป็นต้น
                                                                                                  ของคะแนนเสียงอยู่พอสมควร โดยความไม่เท่าเทียมดังกล่าวเกิดขึ้น
                   การจำากัดสิทธิเลือกตั้งโดยการกระทำาความผิด (passé                              จากสาเหตุหลัก 2 ประการอันประกอบไปด้วย การลงคะแนนหลายเสียง

                   25
           judiciaire)  เป็นกรณีที่รัฐกำาหนดให้เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งสำาหรับบุคคล                  ประการหนึ่ง และความไม่เท่าเทียมอันเกิดจากการแบ่งเขตเลือกตั้ง
           ที่กระทำาความผิดตามที่กฎหมายกำาหนด การกำาหนดเช่นว่านั้นแตกต่าง                                 การลงคะแนนหลายเสียง (vote plural) เป็นกรณีที่กฎหมาย
                                                                                                                                            27
           กันไปในแต่ละรัฐ เช่นในประเทศฝรั่งเศสนับแต่ปี ค.ศ. 1994 บุคคลจะ                         กำาหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งหนึ่งคน (électeur) มีสิทธิลงคะแนนได้

           ถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งก็ต่อเมื่อมีคำาพิพากษาของศาลให้เพิกถอนสิทธิ
                                                                                                  หลายเสียงในหนึ่งเขตเลือกตั้ง ในอดีตอาจเป็นกรณีที่รัฐให้สิทธิในการ


           23   GICQUEL, J. & GICQUEL, J.E. Ibid. p. 174; ARDANT, P. & MATHIEU, B. Ibid.
           p. 200; BARTHÉLEMY, J. & DUEZ, P. Ibid. pp. 315 – 316
           24                                                                                     26
              ARDANT, P. & MATHIEU, B. Ibid. p. 200; BARTHÉLEMY, J. & DUEZ, P. Ibid.                 HAMON, F. & TROPER, M. op.cit. pp. 137 – 138; ARDANT, P. & MATHIEU, B. Ibid.
           pp. 317 – 318                                                                          p. 202
           25                                                                                     27
              ARDANT, P. & MATHIEU, B. Ibid. p. 200; BARTHÉLEMY, J. & DUEZ, P. Ibid.                 BARTHÉLEMY, J. & DUEZ, P. Ibid. pp. 345 – 346; ARDANT, P. & MATHIEU, B.
           pp. 318 – 321; GICQUEL, J. & GICQUEL, J.E. Ibid. p. 174                                Ibid. p. 202; และโปรดดู CARRÉ DE MALBERG, R. Ibid. pp. 471 – 472
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75