Page 73 - kpi19815
P. 73

72                                                                                                               การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง  73


           ในปัจจุบันการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (élection des députés)                      สิทธิเลือกตั้ง (abstentionniste) จะไม่ได้รับผลร้ายใดๆ ในทางกฎหมาย

           จะต้องเป็นการเลือกตั้งโดยตรงเท่านั้นจึงจะมีความชอบธรรมในทาง                            อนึ่ง การกำาหนดให้การลงคะแนนเป็นสิทธินั้นสอดคล้องกับทฤษฎี
           ประชาธิปไตย ส่วนการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภายังคงมีหลายประเทศที่                          อำานาจอธิปไตยของปวงชน (Théorie de la souveraineté populaire)
           ใช้ระบบการเลือกตั้งโดยอ้อม เช่น ประเทศฝรั่งเศส หรือแม้แต่ใช้วิธีการ                             ในกรณีที่รัฐกำาหนดให้การลงคะแนนเสียงเป็นหน้าที่ (électorat-

           แต่งตั้งสรรหาเช่นประเทศอังกฤษ ประเทศไทย เป็นต้น ทั้งนี้การกำาหนด                       fonction) การไปใช้สิทธิเลือกตั้งของประชาชนจะเปรียบเสมือนการ
           ตัวผู้แทนด้วยวิธีการเลือกตั้งโดยอ้อมหรือวิธีอื่นใดย่อมมีความชอบธรรม                    ออกเสียงที่ถูกบังคับโดยรัฐ (vote obligatoire) เนื่องจากผู้ไม่ไปใช้สิทธิ

           ในทางประชาธิปไตยน้อยกว่าวิธีการเลือกตั้งโดยตรงอย่างมีนัยสำาคัญ
                                                                                                  เลือกตั้งจะได้รับผลร้ายตามที่กฎหมายกำาหนด โดยผลร้ายเช่นว่านั้นจะ
                   2.1.4 การเลือกตั้งโดยลับ                                                       แตกต่างกันไปในแต่ละรัฐ เช่น อาจกำาหนดเป็นค่าปรับ หรือกำาหนดให้
                                                                                                  เสียสิทธิในทางการเมืองบางประการ เป็นต้น อนึ่ง การกำาหนดให้การ
                   การเลือกตั้งโดยลับ (vote secret)  เป็นหลักพื้นฐานของ
                                                  32
           ระบอบประชาธิปไตยโดยผู้แทนที่ไม่อาจละเลย เนื่องจากผู้มีสิทธิเลือกตั้ง                   ลงคะแนนเป็นหน้าที่นั้นสอดคล้องกับทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของชาติ
           จะสามารถแสดงเจตจำานงที่แท้จริงได้ก็ต่อเมื่อการแสดงเจตจำานงนั้น                         (Théorie de la souveraineté nationale)

           เป็นความลับสำาหรับบุคคลอื่น ดังนั้น รัฐจึงมีหน้าที่จัดให้มีสถานที่ซึ่ง                          การกำาหนดให้การลงคะแนนเสียงเป็นสิทธิหรือเป็นหน้าที่จะต้อง
           ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสามารถแสดงเจตจำานงเลือกผู้แทนได้โดยลับ โดยความลับ                   พิจารณาถึงจำานวนผู้ไปใช้สิทธิเลือกตั้งในแต่ละประเทศ ในประเทศที่มี
           ในการลงคะแนนเสียงนั้นขึ้นอยู่กับการจัดคูหา (isoloir) เป็นสำาคัญ การจัด                 จำานวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งมากย่อมไม่มีความจำาเป็นที่จะต้องกำาหนด

           คูหาที่ทำาให้การลงคะแนนเสียงของผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่เป็นความลับ                       ให้การลงคะแนนเป็นหน้าที่ ส่วนในประเทศที่มีจำานวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
           อาจส่งผลให้การเลือกตั้งในหน่วยเลือกตั้งดังกล่าวถูกยกเลิกเพิกถอนได้                     น้อยอย่างมีนัยสำาคัญ การกำาหนดให้การลงคะแนนเสียงเป็นหน้าที่อาจ

                                                                                                  มีความจำาเป็น เนื่องจากหากจำานวนผู้มาใช้สิทธิน้อยจนเกินไปจะทำาให้
                    2.1.5 สิทธิและหน้าที่ในการลงคะแนนเสียง 33
                                                                                                  การเลือกตั้งมีปัญหาด้านความชอบธรรมในทางประชาธิปไตย ทั้งนี้
                   ในกรณีที่รัฐกำาหนดให้การลงคะแนนเสียงเป็นสิทธิ (électorat-                      การกำาหนดบทลงโทษสำาหรับผู้ไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้งจะต้องพอสมควร
           droit) ผู้มีสิทธิเลือกตั้งย่อมมีสิทธิในการเลือกที่จะใช้หรือไม่ใช้สิทธิใน               แก่เหตุ การกำาหนดบทลงโทษไว้หนักจนเกินไปอาจกระทบการตัดสินใจใน

           การลงคะแนนเสียงได้อย่างอิสระ (vote facultatif) กล่าวคือ ผู้ที่ไม่ไปใช้                 การแสดงเจตจำานงของประชาชน ซึ่งไม่เป็นผลดีต่อระบอบประชาธิปไตย

                                                                                                  โดยผู้แทนเช่นกันเราอาจกล่าวได้ว่ารัฐไม่ควรกำาหนดให้การลงคะแนน
           32   MALIGNER, B. (2007). Droit électoral. Paris: Ellipses. pp. 408 – 409; GICQUEL,    เสียงเป็นหน้าที่เว้นเสียแต่ว่ารัฐดังกล่าวจะประสบปัญหาด้านจำานวน
           J. & GICQUEL, J.E. Ibid. p. 176; ARDANT, P. & MATHIEU, B. Ibid. p. 207; และโปรดดู      ผู้ใช้สิทธิเลือกตั้งอย่างรุนแรง
           BARTHÉLEMY, J. & DUEZ, P. Ibid. pp. 415 – 417
           33   BARTHÉLEMY, J. & DUEZ, P. Ibid. pp. 339 – 345; ARDANT, P. & MATHIEU, B.
           Ibid. pp. 206 – 207
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78