Page 76 - kpi19815
P. 76
74 การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 75
โดยสรุป หลักพื้นฐานของการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรที่ได้ 2.2.1 อุปสรรคของการจัดการเลือกตั้ง
อธิบายไว้ข้างต้นเป็นหลักการที่ส่งผลผูกพันให้รัฐที่ต้องการก่อตั้งระบอบ แม้ว่าการเลือกตั้งจะเป็นวิธีการในการกำาหนดตัวผู้แทนราษฎร
ประชาธิปไตยโดยผู้แทนมีหน้าที่สำาคัญ 5 ประการ กล่าวคือ รัฐจะต้อง ในรัฐสมัยใหม่มาเป็นเวลายาวนานรวมหลายศตวรรษ แต่อุปสรรคของ
กำาหนดให้สิทธิเลือกตั้งโดยทั่วไปแก่ประชาชนโดยไม่คำานึงถึงฐานะ การจัดการเลือกตั้งก็ยังคงปรากฏตัวอยู่ในระบอบประชาธิปไตยโดย
ทางเศรษฐกิจหรือการศึกษาและจัดให้มีการเลือกตั้งโดยตรงที่มี ผู้แทนมาโดยตลอดจวบจนปัจจุบัน โดยเฉพาะในประเทศกำาลังพัฒนาซึ่ง
ความเท่าเทียมกันระหว่างนำ้าหนักของคะแนนเสียงในแต่ละเขตเลือกตั้ง มักประสบปัญหาว่าด้วยการจัดการเลือกตั้งทั้งที่เกิดจากองค์กรภาครัฐ
โดยรัฐจะต้องเตรียมสถานที่ลงคะแนนให้แก่ผู้มาใช้สิทธิโดยคำานึงถึง และการกระทำาของเอกชน เราสามารถแยกพิจารณาอุปสรรคในการจัด
ความลับในการลงคะแนนเสียงของประชาชน นอกจากนี้ รัฐจะต้อง การเลือกตั้งเป็นสองประเภทได้แก่ “ความบกพร่องในการจัดการเลือกตั้ง
กำาหนดให้การลงคะแนนเสียงเป็นสิทธิเพื่อให้ประชาชนเลือกที่จะ ของรัฐ” และ “การทุจริตของผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งหรือบุคคลอื่น”
แสดงเจตจำานงของตนได้อย่างอิสระ
2.2.1.1 ความบกพร่องในการจัดการเลือกตั้งของรัฐ
2.2 ก�รประกันคว�มสุจริตและเที่ยงธรรมของก�รเลือกตั้ง รัฐมีหน้าที่ในการจัดการเลือกตั้งเพื่อให้ประชาชนสามารถ
แสดงเจตจำานงในการกำาหนดตัวผู้แทนราษฎรได้ตามหลักประชาธิปไตย
แม้รัฐจะสามารถปฏิบัติตามหลักพื้นฐานทั้ง 5 ประการ
ของระบอบประชาธิปไตยโดยผู้แทนได้ แต่รัฐอาจประสบปัญหาด้าน โดยผู้แทน ซึ่งหน้าที่ดังกล่าวประกอบไปด้วยกระบวนการและขั้นตอน
ความมั่นคงและความชอบธรรมของระบอบดังกล่าวหากไม่สามารถ ที่อาจก่อให้เกิดปัญหาความว่าด้วยไม่ชอบธรรมในการเลือกตั้งได้
ประกันความสุจริตและเที่ยงธรรมของการเลือกตั้งได้ โดยอุปสรรคสำาคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความบกพร่องในวันลงคะแนนเสียง เช่น การจัดเตรียม
ในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยโดยผู้แทนที่ไม่มีรัฐใดหลีกเลี่ยงได้คือ คูหาเลือกตั้งไม่เพียงพอกับจำานวนของผู้มาใช้สิทธิ การจัดคูหาเลือกตั้ง
ปัญหาว่าด้วยความสุจริตและเที่ยงธรรมของการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นปัญหา ที่อาจเปิดโอกาสให้บุคคลอื่นมองเห็นการแสดงเจตจำานงของผู้ใช้สิทธิ
ที่เกิดขึ้นมาพร้อมๆ กับการปกครองระบอบประชาธิปไตยโดยผู้แทน เลือกตั้ง หรือแม้แต่การนับคะแนนที่ผิดพลาด ซึ่งหากความบกพร่อง
และจะยังคงอยู่คู่กับการเลือกตั้งต่อไปในอนาคต แม้เราจะไม่สามารถ เช่นว่านั้นมีความร้ายแรงถึงขนาดทำาให้การเลือกตั้งไม่ชอบด้วยกฎหมาย
กำาจัดปัญหาเช่นว่านั้นให้หมดไปโดยสิ้นเชิง แต่การแก้ไขปัญหาดังกล่าว ผลการเลือกตั้งดังกล่าวอาจถูกยกเลิกโดยองค์กรตุลาการ ซึ่งการยกเลิก
ก็เป็นสิ่งที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้หากต้องการก่อตั้งระบอบประชาธิปไตยที่ ผลการเลือกตั้งย่อมส่งผลกระทบถึงความต่อเนื่องในการปฏิบัติหน้าที่ของ
มั่นคง เราสามารถทำาความเข้าใจการประกันความสุจริตและเที่ยงธรรม ผู้แทนราษฎรรวมทั้งความน่าเชื่อถือในการจัดทำาบริการสาธารณะของรัฐ
ของการเลือกตั้งจากการพิจารณา “อุปสรรคของการเลือกตั้ง” และ นอกจากจะต้องหลีกเลี่ยงความบกพร่องในการจัดการ
“การตรวจสอบความสุจริตและเที่ยงธรรมของการเลือกตั้ง” เลือกตั้งแล้วรัฐยังจะต้องมีความเป็นกลางในการจัดการเลือกตั้งเพื่อ