Page 62 - kpi19815
P. 62
60 การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 61
populaire) เช่นเดียวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยโดยตรง ระหว่างองค์กรหลักของรัฐและไม่อาจแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้โดยอาศัย
บทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐอาจเสนอให้ประชาชนเป็นตัดสินใจหา
การมีส่วนร่วมของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยกึ่งโดยตรง
ในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 2 กรณีดังนี้ ทางออกของปัญหาเช่นว่านั้น
1.2.2.2 การคัดค้านร่างกฎหมายโดยประชาชน
1.2.1 ประชามติ
เป็นกรณีที่ฝ่ายนิติบัญญัติจัดทำาร่างรัฐบัญญัติขึ้นเพื่อเตรียม
ประชามติ (référendum) เป็นตัวอย่างของระบอบ
ประชาธิปไตยกึ่งโดยตรงที่พบได้บ่อยที่สุดโดยการจัดทำาประชามติที่ ประกาศใช้เป็นรัฐบัญญัติ ในระยะเวลาระหว่างขั้นตอนสุดท้ายของฝ่าย
ปรากฏในปัจจุบันแบ่งออก 4 ประเภทดังต่อไปนี้ นิติบัญญัติและการประกาศใช้กฎหมาย ประชาชนสามารถคัดค้านร่าง
กฎหมายเช่นว่านั้นได้ (veto populaire) ซึ่งจำานวนของประชาชนและ
ประเภทแรก ประชามติเพื่อรับร่างรัฐธรรมนูญ (référendum ระยะเวลาที่เปิดโอกาสให้ประชาชนคัดค้านขึ้นอยู่กับการกำาหนดของ
constituant) เป็นกรณีที่มีการจัดทำาร่างรัฐธรรมนูญหรือร่างแก้ไขเพิ่มเติม แต่ละรัฐ เช่นกรณีของประเทศสวิตเซอร์แลนด์กำาหนดไว้ที่ 90 วันก่อน
รัฐธรรมนูญขึ้นโดยรัฐและนำาเสนอร่างดังกล่าวนั้นให้ประชาชนเป็น ประกาศใช้กฎหมาย โดยในกรณีที่มีประชาชนจำานวนถึงเกณฑ์ที่กฎหมาย
ผู้ตัดสินใจรับรองหรือปฏิเสธ โดยบางรัฐกำาหนดให้การรับรองร่างแก้ไข กำาหนดไว้คัดค้านร่างรัฐบัญญัติ รัฐจะต้องจัดให้มีการลงประชามติ
เพิ่มเติมรัฐธรรมนูญต้องกระทำาด้วยวิธีประชามติเท่านั้น เช่น ประเทศ เพื่อรับรองร่างกฎหมายดังกล่าว (référendum de ratification) แต่ใน
สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย สเปน ออสเตรเลีย เป็นต้น กรณีที่ไม่มีการคัดค้านเช่นว่านั้นภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำาหนด
ประเภทที่สอง ประชามติเพื่อรับรองรัฐบัญญัติ (référendum ร่างรัฐบัญญัติดังกล่าวจะได้รับการประกาศใช้ตามกระบวนการปกติ
de ratification) เป็นกรณีที่มีการจัดทำาร่างรัฐบัญญัติ (projet de loi) 1.2.3 ระบอบประชาธิปไตยโดยผู้แทน
17
ขึ้นตามกระบวนการนิติบัญญัติและนำาเสนอร่างกฎหมายดังกล่าวให้
ประชาชนลงมติรับรองหรือปฏิเสธ ระบอบประชาธิปไตยโดยผู้แทน (démocratie représentative)
เป็นการปกครองที่ประชาชนไม่ได้มีส่วนร่วมในทางการเมืองการปกครอง
ประเภทที่สาม ประชามติเพื่อปรึกษาหารือ (référendum de โดยตรง หากแต่มีส่วนร่วมผ่านทาง “การเลือกตั้ง” (élection) ผู้แทนราษฎร
consultation) เป็นกรณีที่รัฐจัดทำาโครงการปฏิรูปกฎหมายหรือนโยบาย (député) ซึ่งมีวาระการดำารงตำาแหน่งในช่วงเวลาหนึ่งเพื่อใช้อำานาจ
ที่ส่งผลกระทบต่อรัฐอย่างมีนัยสำาคัญและให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ
รับรองหรือปฏิเสธโครงการหรือนโยบายดังกล่าว
17 FAVOREU, L. & autres. Ibid. p. 593 – 594; ARDANT, P. & MATHIEU, B. Ibid.
ประเภทสุดท้าย ประชามติเพื่อชี้ขาดปัญหาระหว่างองค์กร p. 178; VEDEL, G. Ibid. pp. 133 – 134; GICQUEL, J. & GICQUEL, J.E. Ibid. p. 227;
หลักของรัฐ (référendum d’arbitrage) เป็นกรณีที่เกิดความขัดแย้ง BARTHÉLEMY, J. & DUEZ, P. op.cit. pp. 80 - 81