Page 60 - kpi19815
P. 60
58 การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 59
14
15
ระบอบประชาธิปไตยโดยตรง (démocratie directe) ปรากฏระบอบการปกครองดังกล่าวอยู่บ้างในบางรัฐก็ตาม
หมายถึง การปกครองที่พลเมืองมีส่วนร่วมในระบบการเมืองการปกครอง อนึ่ง ในอนาคตอาจมีการนำาระบอบประชาธิปไตยโดยตรง
ของรัฐโดยตรง ซึ่งคำาว่า “โดยตรง” ในที่นี้หมายถึงการที่พลเมืองทั้งหลาย กลับมาใช้ในรัฐที่มีพัฒนาการทางการเมืองและเทคโนโลยีถึงขีดสุด เช่น
สามารถแสดงเจตจำานงของตนเองโดยตรง ไม่จำาเป็นต้องแสดงออกผ่าน อาจมีการจัดอภิปรายและลงมติรับรองร่างกฎหมายต่างๆ โดยพลเมือง
ทางผู้แทนด้วยวิธีการเลือกตั้งแต่อย่างใด ดังนั้นการอภิปรายโต้แย้ง ผ่านระบบอินเตอร์เนตหรือระบบอื่นๆ ซึ่งเป็นการแก้ไขข้อบกพร่อง
แสดงเหตุผลใดๆ รวมทั้งการลงมติรับรองร่างกฎหมายในกระบวนการ ในทางปฏิบัติของการปกครองระบอบดังกล่าว
นิติบัญญัติย่อมกระทำาโดยพลเมืองมิใช่ผู้แทนที่ได้รับเลือกตั้ง การปกครอง
16
เช่นนี้สอดคล้องกับแนวคิดอำานาจอธิปไตยของปวงชน (Théorie de la 1.2.2 ระบอบประชาธิปไตยกึ่งโดยตรง
souveraineté populaire) ที่เน้นความสำาคัญของเจตจำานงแห่งปัจเจกชน ระบอบประชาธิปไตยกึ่งโดยตรง (démocratie semi-directe)
แต่ละบุคคลเป็นหลัก เป็นการปกครองที่พลเมืองมิได้มีส่วนร่วมในการริเริ่มหรืออภิปรายใน
ทั้งนี้ แม้ระบอบดังกล่าวจะสามารถสะท้อนเจตจำานงของ กระบวนการต่างๆ ของรัฐ แต่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเพื่อรับรองหรือ
ประชาชนได้อย่างชัดเจนและเท่าเทียมกว่าการปกครองในระบอบอื่นๆ ปฏิเสธข้อเสนอของรัฐ อาจเรียกได้ว่าเป็นการผสมผสานระหว่างระบอบ
แต่การปกครองเช่นว่านั้นกลับดำาเนินการได้ยากในทางปฏิบัติ กล่าวคือ ประชาธิปไตยโดยตรง (démocratie directe) และระบอบประชาธิปไตย
การจัดให้พลเมืองทั้งหลายแสดงเจตจำานงในการใช้อำานาจอธิปไตย โดยผู้แทน (démocratie représentative) เนื่องจากเป็นการใช้อำานาจ
ด้วยตนเองในรัฐสมัยใหม่เป็นเรื่องที่เป็นไปได้ยากเนื่องจากพลเมืองใน อธิปไตยร่วมกันระหว่างผู้แทนราษฎรและพลเมือง กล่าวคือ ฝ่ายบริหาร
แต่ละรัฐมีจำานวนมาก การจัดทำาบริการสาธารณะย่อมได้รับผลกระทบ หรือฝ่ายนิติบัญญัติเป็นผู้จัดทำาข้อเสนอและประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ
ในหลายด้าน โดยเฉพาะความล่าช้าและความไม่ต่อเนื่องในกระบวน รับรองหรือปฏิเสธข้อเสนอดังกล่าวถือได้ว่าระบบดังกล่าวสอดคล้อง
นิติบัญญัติรวมทั้งการดำาเนินนโยบายของฝ่ายบริหาร ด้วยสาเหตุข้างต้น กับทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของปวงชน (Théorie de la souveraineté
ระบอบประชาธิปไตยโดยตรงจึงไม่เป็นที่นิยมในโลกปัจจุบัน แม้จะ
14 ในบางครั้งเรียกว่า “ระบอบประชาธิปไตยบริสุทธิ์” (démocratie pure) ซึ่งมีการอธิบายว่า 15 ตัวอย่างของระบอบประชาธิปไตยโดยตรงที่ชัดเจนที่สุดในโลกปัจจุบันคือกรณีของ
เป็นการปกครองของประชาชนโดยแท้จริง กล่าวคือประชาชนใช้อำานาจอธิปไตยในทุกๆ ด้าน การปกครองใน 3 มลรัฐของสมาพันธรัฐสวิสอันได้แก่ Glaris, Unterwald และ Appenzell กล่าวคือ
ด้วยตนเองผ่านทางสภาประชาชน (Assemblée poppulaire) ไม่มีการก่อตั้งคณะรัฐมนตรี รัฐสภา ทั้ง 3 มลรัฐยังคงมีการจัดประชุมสภาพลเมือง (Landsgemeinde) ที่ให้สิทธิแก่พลเมืองทุกคน
หรือศาล ซึ่งเป็นการปกครองในอุดมคติโดยแท้ แต่ไม่เคยปรากฏอยู่ในโลกแห่งความเป็นจริง; ในการดำาเนินกระบวนนิติบัญญัติด้วยตนเอง; โปรดดู ARDANT, P. & MATHIEU, B. Ibid. p.
โปรดดู VEDEL, G. (2002). Ibid. p. 133 177; FAVOREU, L. & autres. Ibid. p. 595; ฐากูร ศิริยุทธ์วัฒนา. อ้างแล้ว. หน้า 148
16 FAVOREU, L. & autres. Ibid. p. 596 – 599; ARDANT, P. & MATHIEU, B. Ibid. pp.
182 – 184; VEDEL, G. Ibid. pp. 136 – 140; GOHIN, O. Ibid. p. 280 et s.; BARTHÉLEMY,
J. & DUEZ, P. op.cit. pp. 81 - 82; ฐากูร ศิริยุทธ์วัฒนา. อ้างแล้ว. หน้า 151 - 153