Page 57 - kpi19815
P. 57
56 การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 57
ตามทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของปวงชนเป็นสิทธิของพลเมือง (électorat- ทฤษฎีทั้ง 2 ยังส่งผลต่อบทบัญญัติว่าด้วยอำานาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญ
droit) ของบางประเทศในเวลาเดียวกันอีกด้วย เช่นมาตรา 3 ของรัฐธรรมนูญ
แห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสฉบับปี ค.ศ. 1958 กำาหนดว่า “อำานาจอธิปไตย
ประการที่สาม ผู้มีหน้าที่เลือกตั้งตามทฤษฎีอำานาจอธิปไตย
ของชาติจะต้องมีคุณสมบัติบางประการที่รัฐกำาหนด ข้อกำาหนดเช่นว่า ของชาติเป็นของปวงชนซึ่งแสดงออกผ่านทางผู้แทนราษฎรหรือการ
12
นั้นส่งผลให้การเลือกตั้งดังกล่าวเป็นการเลือกตั้งแบบจำากัด (suffrage ออกเสียงประชามติ”
restreint) ส่วนผู้มีสิทธิเลือกตั้งตามทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของปวงชน เราอาจสรุปได้ว่าการอภิปรายว่าอำานาจอธิปไตยเป็นของชาติ
หมายถึงประชาชนทั่วไปที่มีอายุครบเกณฑ์ตามที่รัฐกำาหนดและมี หรือของปวงชนไม่ส่งผลกระทบต่อการปรับใช้ทฤษฎีทั้ง 2 ในปัจจุบัน
สติสัมปชัญญะครบถ้วน ซึ่งส่งผลให้การเลือกตั้งดังกล่าวเป็นการ เนื่องจากการปกครองในสมัยใหม่ได้ผสมผสานสาระสำาคัญต่างๆ
เลือกตั้งแบบทั่วไป (suffrage universel) เข้าด้วยกันอย่างลงตัว นอกจากนี้การกำาหนดลงในบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ
ว่าอำานาจอธิปไตยเป็นของใคร ย่อมไม่มีผลกระทบต่อระบอบการปกครอง
ประการสุดท้าย ผู้แทนของชาติ (représentant) ตามทฤษฎี
อำานาจอธิปไตยของชาติมีเจตจำานงอิสระในการดำาเนินกิจการทั้งหลาย เท่ากับระบบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนซึ่งแสดงออก
ในนามของรัฐ ส่วนตัวแทนของปวงชน (délégué) ตามทฤษฎีอำานาจ ผ่านวิถีทางในระบอบประชาธิปไตยซึ่งจะได้กล่าวถึงในส่วนถัดไป
อธิปไตยของปวงชนมีอำานาจเฉพาะเรื่องที่ได้รับมอบหมายจากปวงชน
และอาจถูกถอดถอนได้หากไม่กระทำาตามหน้าที่อันได้รับมอบหมาย 1.2 ประเภทของระบอบประช�ธิปไตย
เช่นว่านั้น ระบอบประชาธิปไตยคือการปกครองที่ประชาชนมีส่วนร่วม
แม้จะปรากฏความแตกต่างตามที่ได้อธิบายไปข้างต้นแต่สาระ ในการเมืองการปกครองของรัฐ โดยวิธีการมีส่วนร่วมเช่นว่านั้นเป็น
สำาคัญของทั้ง 2 ทฤษฎีกลับถูกนำามาผสมผสานและปรับใช้กับการปกครอง เครื่องจำาแนกประเภทของระบอบประชาธิปไตยซึ่งสามารถแบ่งออก
ในปัจจุบัน เนื่องจากการปกครองในรัฐสมัยใหม่ไม่อาจยึดถือแนวทาง เป็น 3 ประเภทดังนี้
ตามทฤษฎีใดได้ทั้งหมด เช่น รัฐส่วนใหญ่มักกำาหนดให้การเลือกตั้งเป็น 1.2.1 ระบอบประชาธิปไตยโดยตรง
13
สิทธิ (électorat-droit) ตามทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของปวงชนในขณะที่
รัฐเหล่านั้นกลับไม่นำาแนวคิดเรื่องตัวแทนของชาติ (délégué) มาปรับใช้
เนื่องจากรัฐสมัยใหม่ล้วนปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยโดยผู้แทน 12 โปรดดู ARDANT, P. & MATHIEU, B. Ibid. p. 176
13 Ibid. p. 176 – 178; FAVOREU, L. & autres. (2014). Droit constitutionnel. 16ème
เป็นหลัก ซึ่งเป็นการปกครองที่สอดคล้องกับทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของ édition. Paris: Dalloz. p. 595; GOHIN, O. (2013). Droit constitutionnel. 2ème édition.
ชาติมากกว่าทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของปวงชน นอกจากนี้อิทธิพลของ Paris: LexisNexis. p. 277; BARTHÉLEMY, J. & DUEZ, P. op.cit. p. 80; ฐากูร ศิริยุทธ์
วัฒนา. อ้างแล้ว. หน้า 148 - 149