Page 53 - kpi19815
P. 53

52                                                                                                               การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง  53


           มาตรา 3 แห่งปฏิญญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมืองปี ค.ศ. 1789                       สามารถปฏิบัติหน้าที่ทั้งหลายในนามของชาติได้ ซึ่งผู้แทนของชาติในที่นี้

           (Déclaration des droits de l'homme et du citoyen de 1789) ว่า                          มาจากการเลือกของพลเมืองที่มีคุณสมบัติตามที่รัฐกำาหนด (suffrage
           “อ�ำนำจอธิปไตยเป็นของชำติ บุคคลใดๆ ย่อมไม่อำจใช้อ�ำนำจดังกล่ำว                         restreint) โดยการกำาหนดตัวผู้แทนของชาตินั้นมิได้เป็นสิทธิที่พลเมือง
           ในนำมของตนเอง” อำานาจอธิปไตยตามแนวคิดนี้จึงมิได้เป็นของ                                อาจเลือกใช้หรือไม่ใช้สิทธิก็ได้ หากแต่เป็นหน้าที่ของพลเมืองทั้งหลาย

           ตัวบุคคลหรือกลุ่มบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของรัฐนั้นๆ หากแต่เป็นของ                          (électorat-fonction) หรืออาจเรียกว่าเป็น “การลงคะแนนแบบบังคับ”
                         3
           “ชาติ” (Nation)  เสมือนเป็นนิติบุคคลที่แยกออกต่างหากจากบุคคล                           (vote obligatoire) ทั้งนี้ผู้แทนที่ถูกกำาหนดตัวโดยพลเมืองนั้นมิใช่ผู้แทน
                                              4
           ธรรมดาซึ่งเป็นสมาชิกของนิติบุคคล  โดยสาระสำาคัญของทฤษฎี                                ของพลเมืองซึ่งเป็นผู้กำาหนดตัวผู้แทน หากแต่เป็น “ผู้แทนของชาติ”
                                                                                                                6
           ดังกล่าวมีทั้งสิ้น 2 ประการดังนี้                                                      (représentant)
                   ประการแรก อำานาจอธิปไตยของชาตินั้นเป็นอันหนึ่งอันเดียว                                 1.1.2 ทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของปวงชน

           ไม่สามารถแบ่งแยกได้ กล่าวคือ อำานาจอธิปไตยเป็นของชาติและการใช้                                  ทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของปวงชน (Théorie de la souveraineté
           อำานาจดังกล่าวต้องใช้ในนามของชาติเท่านั้น ไม่มีการถืออำานาจอธิปไตย                     populaire) ได้รับการก่อตั้งขึ้นโดย Jean-Jacques Rousseau (1712
           ร่วมกันระหว่างปัจเจกชนทั้งหลายในฐานะเจ้าของร่วม (Cosouverain)

           5       ประการที่สอง เจตจำานงของชาติแสดงออกผ่านผู้แทนของชาติ                           – 1778) ผ่านผลงานชื่อ Le contrat social (สัญญาประชาคม) ซึ่ง
           เนื่องจากชาติซึ่งมีลักษณะเป็นนามธรรมนั้นไม่สามารถแสดงออกซึ่ง                           ได้รับการตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1762  แนวคิดดังกล่าวตั้งอยู่บนหลักของความ
                                                                                                  เท่าเทียมระหว่างปัจเจกชน กล่าวคือ อำานาจอธิปไตยมิได้เป็นของชาติ
           เจตจำานงหรือกระทำาการใดๆ ด้วยตนเอง ชาติจึงจำาเป็นต้องมีผู้แทนที่
                                                                                                  ตามที่ Siéyès กล่าวอ้างไว้ หากแต่เป็นของปัจเจกชนทุกๆ คนที่เป็น
                                                                                                  สมาชิกของรัฐอย่างเท่าเทียมกัน กล่าวอีกนัยหนึ่ง อำานาจดังกล่าวเป็น

           3   ข้อความคิดว่าด้วยชาตินั้นปรากฏอยู่ 2 แนวคิดซึ่งเป็นที่ยอมรับ (1) ทฤษฎีความเป็นชาติ   ของปัจเจกชนทุกคน คนละหนึ่งส่วนโดยเสมอกัน ดังนั้นหากรัฐหนึ่ง
           ในเชิงภวะวิสัย (Thèse objective de la nation): แนวคิดดังกล่าวเน้นองค์ประกอบของชาติ     มีประชากร 10,0000 คน ประชาชนหนึ่งคนจะเป็นเจ้าของอำานาจ
           ในเชิงภวะวิสัยเป็นสำาคัญ ได้แก่ เชื้อชาติ ภาษา จารีตประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา เป็นต้น
                                                                                                                                       7
           (2) ทฤษฎีความเป็นชาติในเชิงอัตวิสัย (Thèse subjective de la nation): แนวคิดนี้ให้ความ  อธิปไตย 1 ใน 000,01 ส่วนเท่าเทียมกัน  โดยสาระสำาคัญของทฤษฎี
           สำาคัญกับองค์ประกอบในเชิงอัตวิสัยซึ่งหมายถึงเจตจำานงของกลุ่มบุคคลที่ต้องการจะอยู่ร่วม  อำานาจอธิปไตยของปวงชนมีทั้งสิ้น 3 ประการดังนี้
           กันโดยไม่คำานึงถึงองค์ประกอบในเชิงภวะวิสัย; โปรดดู ARDANT, P. & MATHIEU, B. (2010).
           Institutions politiques et droit constitutionnel. 22ème édition, Paris: L.G.D.J. pp. 23 – 24;      ประการแรก อำานาจอธิปไตยของปวงชนแสดงออกผ่าน
           ฐากูร ศิริยุทธ์วัฒนา. อ้างแล้ว. หน้า 34 - 35
           4                                                                                      เจตจำานงของปวงชนทั้งหลาย กล่าวคือ เจตจำานงของรัฐแสดงออก
             GICQUEL, J. & GICQUEL, J.E. (2013). Droit constitutionnel et institutions
           politiques. 27ème édition. Paris: L.G.D.J. p. 224; และโปรดดู CARRÉ DE MALBERG, R.
           (2003). Contribution à la théorie générale de l’État. Paris: Dalloz. p. 14 et p. 167 et s.;
           BARTHÉLEMY, J. & DUEZ, P. op.cit. p. 58                                                6   Ibid. p. 174
           5   ARDANT, P. & MATHIEU, B. Ibid. p. 173                                              7   Ibid. p. 175; CARRÉ DE MALBERG, R. Ibid. p. 154
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58