Page 51 - kpi19815
P. 51

50                                                                                                               การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง  51


                                                              1
           ภายใต้อิทธิพลของระบอบอภิชนาธิปไตย (Aristocratie)  ซึ่งอำานาจ                           ยุโรปตลอดระยะเวลาหลายศตวรรษ บรรดาทฤษฎีที่ปรากฏในช่วงเวลา
           อธิปไตยส่วนใหญ่นั้นอยู่ในมือของชนชั้นสูงมากกว่าที่จะเป็นของคน                          ดังกล่าวล้วนเกิดขึ้นเพื่อรับรองความชอบธรรมของกษัตริย์ซึ่งเป็นผู้ถือ
                                                                                                                                     2
           ส่วนใหญ่ ระบอบประชาธิปไตยสมัยใหม่นั้นเริ่มก่อตัวขึ้นในช่วงปลาย                         อำานาจอธิปไตยในทางข้อเท็จจริงทั้งสิ้น  เมื่อการล่มสลายของระบอบ
           ศตวรรษที่ 18 ภายใต้อิทธิพลของการปฏิวัติอเมริกันในปี ค.ศ. 1776                          สมบูรณาญาสิทธิราชย์ในฝรั่งเศสเริ่มต้นขึ้นในช่วงปลายศตวรรษที่ 18

           และการปฏิวัติฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1789 จนกระทั่งพัฒนามาจนเป็น                             การอธิบายว่าอำานาจอธิปไตยนั้นเป็นของกษัตริย์หรือของพระเจ้าย่อม
           ระบอบประชาธิปไตยอย่างเช่นในปัจจุบัน แม้จะมีข้อถกเถียงมาเป็นนาน                         ไม่เป็นที่ยอมรับอีกต่อไป ความจำาเป็นในการก่อตั้งทฤษฎีใหม่ขึ้นเพื่อ

           หลายศตวรรษเกี่ยวกับการปกครองระบอบดังกล่าวว่าเป็นระบอบการ                               อธิบายว่าใครเป็นเจ้าของอำานาจอธิปไตยที่แท้จริงจึงเริ่มต้นขึ้น ทฤษฎี
           ปกครองที่ดีที่สุดหรือไม่ แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่าระบอบประชาธิปไตย                      ซึ่งปรากฏขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าวและเป็นที่ยอมรับจวบจนปัจจุบันมี
           กลายสภาพเป็นระบอบการปกครองที่ทรงอิทธิพลที่สุดในปัจจุบัน                                ทั้งสิ้น 2 ทฤษฎี ได้แก่ ทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของชาติ และทฤษฎีอำานาจ

           อาจกล่าวได้ว่าประชาธิปไตยมิใช่เป็นเพียงระบอบการปกครองซึ่งเป็น                          อธิปไตยของปวงชน
           เรื่องภายในรัฐอีกต่อไป หากแต่กลายสภาพเป็นเงื่อนไขในทางการเมือง                                 1.1.1 ทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของชาติ

           ของการเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วอีกด้วย กล่าวอีกนัยหนึ่งคือรัฐที่ปกครอง
           ด้วยระบอบเผด็จการย่อมไม่ได้รับการยอมรับจากบรรดาอารยประเทศ                                       ทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของชาติ (Théorie de la souveraineté
           เพื่อทำาความเข้าใจข้อความคิดพื้นฐานว่าด้วยระบอบประชาธิปไตย                             nationale) ได้รับการก่อตั้งขึ้นโดย Emmanuel-Joseph Sieyès (1748

           เราควรเริ่มพิจารณาจาก “ทฤษฎีว่าด้วยเจ้าของอำานาจอธิปไตย” จากนั้น                       – 1836) นักปฏิวัติคนสำาคัญในการปฏิวัติฝรั่งเศสปี ค.ศ. 1789 โดย
           จึงสามารถพิจารณา “ประเภทของระบอบประชาธิปไตย”                                           ภายหลังการปฏิวัติครั้งนั้น แนวคิดดังกล่าวได้รับการบัญญัติลงใน



           1.1 ทฤษฎีว่�ด้วยเจ้�ของอำ�น�จอธิปไตย                                                   2   แนวคิดว่าด้วยอำานาจอธิปไตยของพระเจ้า (Théorie théocratique) นั้นแบ่งออกเป็น
                                                                                                  3 แนวคิดดังต่อไปนี้
                   ก่อนการปฏิวัติฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1789 การอภิปรายถึงทฤษฎี                        (1) Théorie du droit divin surnaturel: อำานาจอธิปไตยเป็นของพระเจ้าและพระองค์ประทาน
           ว่าด้วยเจ้าของอำานาจอธิปไตยนั้นวนเวียนอยู่กับความเชื่อเกี่ยวกับเรื่อง                  อำานาจนั้นให้แก่กษัตริย์ซึ่งเป็นผู้ปกครองโดยตรง
                                                                                                  (2) Théorie du droit divin providentiel: อำานาจอธิปไตยเป็นของพระเจ้าและพระองค์ประทาน
           เหนือธรรมชาติต่างๆ (Théorie théocratique) โดยเฉพาะความเชื่อเรื่อง                      อำานาจนั้นให้แก่ศาสนจักรคาทอลิก ศาสนจักรคาทอลิกจึงมีความชอบธรรมในการสถาปนา
           พระเจ้าในศาสนาคริสต์ซึ่งมีอิทธิพลต่อระบอบการเมืองการปกครองใน                           กษัตริย์ให้เป็นผู้ปกครอง
                                                                                                  (3) Théorie du droit divin populaire: อำานาจอธิปไตยเป็นของพระเจ้าและพระองค์ประทาน
                                                                                                  อำานาจนั้นให้แก่ปวงชน โดยปวงชนทั้งหลายเป็นผู้ยินยอมให้กษัตริย์เป็นผู้ใช้อำานาจอธิปไตย
                                                                                                  แทนตน;
           1   โปรดดู ฐากูร ศิริยุทธ์วัฒนา (2559). กฎหมายรัฐธรรมนูญ: หลักพื้นฐานแห่งกฎหมาย        โปรดดู BARTHÉLEMY, J. & DUEZ, P. (2004). Traité de droit constitutionnel. Paris:
           รัฐธรรมนูญและระบอบประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: วิญญูชน. หน้า 130 - 131                       L.G.D.J. pp. 67 – 68; ฐากูร ศิริยุทธ์วัฒนา. อ้างแล้ว. หน้า 141 - 142
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56