Page 47 - kpi19815
P. 47
46 การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 47
4. ขอบเขตของการศึกษา 5.1 การวิเคราะห์เอกสาร : โครงการนี้จะทำาการวิเคราะห์
บทบัญญัติแห่งกฎหมาย คำาพิพากษาขององค์กรตุลาการ
การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิทธิในการคัดค้านผลการเลือกตั้ง
มีกรอบแนวคิดที่สำาคัญ 2 ประการ (1) กรอบแนวคิดเกี่ยวกับระบอบ หรือคำาวินิจฉัยขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
ประชาธิปไตยและหลักนิติรัฐ ซึ่งเป็นกรอบแนวคิดในเชิงทฤษฎี และ ตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของการเลือกตั้งทั้งของ
(2) กรอบแนวคิดเกี่ยวกับ ประสิทธิภาพในการตรวจสอบความสุจริตและ ประเทศไทยและต่างประเทศ
เที่ยงธรรมของการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นกรอบแนวคิดในเชิงปฏิบัติ โดยผลงาน 5.2 การเปรียบเทียบกรณีศึกษา : โครงการนี้จะทำาการวิเคราะห์
วิชาการชิ้นนี้จะวางอยู่บนกรอบแนวคิดข้างต้นทั้ง 2 ประการควบคู่กันไป ประสบการณ์ทางด้านการคัดค้านผลการเลือกตั้งของ
กล่าวคือ ในเชิงทฤษฎี จะเป็นการวิเคราะห์หลักประชาธิปไตยและ ประเทศฝรั่งเศสและเยอรมนี ซึ่งเป็น 2 ประเทศที่มีอิทธิพล
หลักนิติรัฐในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมาย ต่อระบบกฎหมายมหาชนไทยมากที่สุด รวมทั้งมีระบบ
ของการเลือกตั้ง และในเชิงปฏิบัติจะเป็นการวิเคราะห์กระบวนการและ การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยประชาชนที่มีประสิทธิภาพ
ข้อดีข้อเสียต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมาย เหมาะสมแก่การใช้เป็นฐานข้อมูลเพื่อทำาการสังเคราะห์
ของการเลือกตั้งทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศ เพื่อนำาไปสู่การ หลักการสำาคัญในการก่อตั้งระบบการคัดค้านผลการเลือกตั้ง
จัดทำากระบวนการเสนอคำาร้องคัดค้านผลการเลือกตั้งต่อองค์กรตุลาการ โดยประชาชนในประเทศไทย
โดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง รวมทั้งกระบวนการพิจารณาคำาร้องและพิจารณา 5.3 การสัมภาษณ์เชิงลึก : โครงการนี้จะทำาการสัมภาษณ์บุคคล
คดีขององค์ตุลาการว่าด้วยคดีเลือกตั้งในกรณีดังกล่าว
ที่มีความสัมพันธ์กับการตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมาย
ของการเลือกตั้งในประเทศไทย อันได้แก่ (1) ตุลาการศาล
5. รูปแบบการศึกษา ยุติธรรมที่ดำารงตำาแหน่งหรือเคยดำารงตำาแหน่งในแผนก
โครงการวิจัย “การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง” คดีเลือกตั้ง และ (2) ผู้มีสิทธิเลือกตั้งในฐานะเจ้าของ
จะเป็นการศึกษาแบบผสมระหว่างการวิเคราะห์เอกสาร การเปรียบเทียบ อำานาจอธิปไตยจำานวน 16 คน โดยผู้วิจัยจะใช้เพศและ
กรณีศึกษา และการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยจะใช้การวิเคราะห์เอกสารและ ระดับการศึกษาเป็นเกณฑ์ในการเลือกเพื่อให้ได้ข้อมูลที่
การเปรียบเทียบกรณีศึกษา เป็นหลัก และใช้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ หลากหลายพอสมควร และจะมีการอธิบายข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
เชิงลึกประกอบการศึกษา กับโครงการวิจัยนี้ก่อนที่จะทำาการสัมภาษณ์เพื่อให้ได้
ความคิดเห็นที่อยู่บนพื้นฐานของข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย
ที่ตรงกับประเด็นของการวิจัย