Page 42 - kpi19815
P. 42
40 การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 41
ในช่วงต้นศตวรรษที่ 19 จนถึงช่วงกลางศตวรรษที่ 20 ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ระบบ
การศึกษาค้นคว้าทางด้านข้อความคิดว่าด้วยการเลือกตั้งให้ความสำาคัญ การตรวจสอบความสุจริตและเที่ยงธรรมของการเลือกตั้งสมาชิกสภา
กับ “สิทธิเลือกตั้ง” (Droit électoral) เป็นหลัก กล่าวคือ สิทธิเลือกตั้ง ผู้แทนราษฎรให้ความสำาคัญกับบทบาทของคณะกรรมการการเลือกตั้ง
ในช่วงแรกจะเป็นสิทธิเลือกตั้งแบบจำากัด (Suffrage restreint) ซึ่งส่งผล และศาลฎีกาแผนกคดีเลือกตั้งเป็นหลัก กล่าวคือ การเพิกถอนสิทธิ
ให้อำานาจในทางการเมืองกระจุกตัวอยู่ในวงแคบ เนื่องจากมีเพียงชนชั้นสูง เลือกตั้งของผู้สมัครรับเลือกตั้ง และการยกเลิกผลการเลือกตั้งก่อน
หรือกลุ่มคนบางประเภทเท่านั้นที่มีสิทธิเลือกตั้ง จนกระทั่งในช่วง การประกาศผลการเลือกตั้งเป็นอำานาจของคณะกรรมการการเลือกตั้ง
ศตวรรษที่ 20 สิทธิเลือกตั้งแบบจำากัดค่อยๆ กลายสภาพเป็นสิทธิ โดยคำาวินิจฉัยของคณะกรรมการการเลือกตั้งให้เป็นที่สุด ส่วนกรณี
เลือกตั้งแบบทั่วไป (Suffrage universel) อย่างเช่นในปัจจุบัน ทั้งนี้ ของการตรวจสอบทั้ง 2 กรณีข้างต้นที่เกิดขึ้นภายหลังการประกาศผล
นับแต่ช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับ การเลือกตั้ง คณะกรรมการการเลือกตั้งจะต้องทำาการสืบสวนข้อเท็จจริง
ข้อความคิดว่าด้วยการเลือกตั้งได้เปลี่ยนจากปัญหาด้านสิทธิเลือกตั้ง และเสนอคำาร้องต่อศาลฎีกาแผนกคดีเลือกตั้งเพื่อวินิจฉัย โดยคำาวินิจฉัย
มาเป็นประเด็นปัญหาในแง่มุมอื่นๆ เป็นหลัก เช่น ปัญหาว่าด้วยระบบ ของศาลฎีกาแผนกคดีเลือกตั้งให้ถือเป็นที่สุด
การเลือกตั้ง กระบวนการจัดการเลือกตั้ง และการตรวจสอบความสุจริต เมื่อมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.
และเที่ยงธรรมของการเลือกตั้ง ซึ่งการให้ความสำาคัญในด้านต่างๆ 2560 ระบบการตรวจสอบความสุจริตและเที่ยงธรรมของการเลือกตั้ง
ย่อมขึ้นอยู่กับสภาพปัญหาเกี่ยวกับการเลือกตั้งของแต่ละประเทศเป็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีการเปลี่ยนแปลงในด้านของอำานาจหน้าที่ของ
สำาคัญ
ทั้ง 2 องค์กรข้างต้นพอสมควร กล่าวคือ ในกรณีที่ยังไม่มีการประกาศ
สำาหรับประเทศไทย หนึ่งในปัญหาที่ปรากฏตัวอย่างชัดเจนมา ผลการเลือกตั้ง คณะกรรมการการเลือกตั้งมีอำานาจในการยกเลิกผล
โดยตลอดคือ ปัญหาเกี่ยวกับความสุจริตและเที่ยงธรรมในการเลือกตั้ง การเลือกตั้ง และระงับสิทธิสมัครรับเลือกตั้งของผู้สมัครไว้เป็นการ
อันเป็นผลมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น ความบกพร่องของกลไก ชั่วคราว โดยคำาวินิจฉัยของคณะกรรมการการเลือกตั้งให้เป็นที่สุด
ในการจัดการเลือกตั้งและการควบคุมความชอบด้วยกฎหมายของ ในกรณีที่มีการประกาศผลการเลือกตั้งแล้ว คณะกรรมการการเลือกตั้ง
การเลือกตั้งโดยองค์กรภาครัฐ การกระทำาความผิดตามกฎหมายว่าด้วย จะไม่มีอำานาจในการวินิจฉัยชี้ขาดแต่จะต้องเสนอคำาร้องขอเพิกถอน
การเลือกตั้งโดยผู้สมัครรับเลือกตั้งหรือโดยบุคคลอื่น รวมทั้งกระบวนการ สิทธิทางการเมืองของผู้สมัครต่อศาลฎีกา ในส่วนของศาลฎีกานั้นจะไม่มี
พิจารณาคดีเลือกตั้งที่ยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ เพราะฉะนั้น การ แผนกคดีเลือกตั้งเหมือนกรณีของรัฐธรรมนูญฉบับก่อน และให้ศาลฎีกา
ศึกษาค้นคว้าเพื่อพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบความสุจริต มีอำานาจในการวินิจฉัยคำาร้องขอเพิกถอนสิทธิทางการเมือง (สิทธิสมัคร
และเที่ยงธรรมของการเลือกตั้ง ย่อมเป็นเรื่องที่มิอาจหลีกเลี่ยงได้ รับเลือกตั้งหรือสิทธิเลือกตั้ง) ของผู้สมัครรับเลือกตั้ง (ไม่ว่าจะได้รับเลือก
หากต้องการแก้ไขปัญหาข้างต้น หรือไม่ก็ตาม) ที่เสนอโดยคณะกรรมการการเลือกตั้ง แต่ไม่มีอำานาจใน
การยกเลิกผลการเลือกตั้งอันเกิดจากเหตุอื่น เช่น การกระทำาความผิด