Page 46 - kpi19815
P. 46
44 การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 45
นอกจากนี้ หากกำาหนดวิธีพิจารณาคดีเลือกตั้งไว้อย่างชัดเจน อาจกล่าวได้ว่า การกำาหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิเสนอ
เช่นการกำาหนดสิทธิและกระบวนการในการเสนอคำาร้อง รับคำาร้อง คำาร้องคัดค้านผลการเลือกตั้ง และการจัดทำาวิธีพิจารณาคดีเลือกตั้ง
ยกคำาร้อง รวมคำาร้อง และการพิจารณาคดีขององค์กรตุลาการ ย่อมส่งผล ให้ชัดเจนย่อมส่งผลเป็นการแก้ปัญหาข้างต้น รวมทั้งเป็นการพัฒนา
ให้ปัญหาความไม่ชัดเจนของเขตอำานาจศาลต่างๆ ในคดีเลือกตั้งได้รับ ระบอบประชาธิปไตยโดยผู้แทนของประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพ
การแก้ไขไปโดยปริยาย ยกตัวอย่างเช่น ปัญหาการจัดการเลือกตั้งทั่วไป มากขึ้นอีกด้วย
ในวันที่ 2 เมษายน พศ. 2549 ซึ่งเกิดจากการจัดคูหาของคณะกรรมการ
การเลือกตั้ง ในกรณีเช่นนี้คณะกรรมการการเลือกตั้งซึ่งเป็นทั้งผู้จัดการ 2. วัตถุประสงค์
เลือกตั้งและผู้ตรวจสอบความถูกต้องของการเลือกตั้งย่อมไม่เสนอ
คำาร้องคัดค้านการจัดคูหาของตนเองเพื่อให้ศาลพิจารณา ประชาชนซึ่ง 2.1 เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ทั้งในทางทฤษฎีและในทางปฏิบัติ
ไม่มีสิทธิในการคัดค้านการกระทำาดังกล่าวของคณะกรรมการการเลือกตั้ง เกี่ยวกับการคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ต่อองค์กรตุลาการโดยตรงจึงใช้สิทธิผ่านผู้ตรวจการแผ่นดิน โดยผู้ตรวจการ 2.2 เพื่อจัดทำาข้อเสนอในการจัดทำากระบวนการเสนอคำาร้อง
แผ่นดินได้เสนอคำาร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาท คัดค้านผลการเลือกตั้งต่อองค์กรตุลาการโดยผู้มีสิทธิ
ดังกล่าว จากนั้นศาลรัฐธรรมนูญจึงมีคำาวินิจฉัยว่าการจัดคูหาโดย เลือกตั้ง รวมทั้งวิธีพิจารณาคดีคดีเลือกตั้งที่เหมาะสมกับ
คณะกรรมการการเลือกตั้งทำาให้การเลือกตั้งครั้งดังกล่าวไม่เป็นไปโดยลับ สภาพปัญหาของระบบตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมาย
การจัดการเลือกตั้งในวันที่ 2 เมษายน พศ. 2549 จึงขัดต่อรัฐธรรมนูญ ของการเลือกตั้งในประเทศไทย
(คำาวินิจฉัยที่ 9/2549 ลงวันที่ 8 พฤษภาคม พศ. 2549) ต่อมาอีกประมาณ
หนึ่งสัปดาห์ ศาลปกครองกลางได้มีคำาพิพากษาให้การจัดการเลือกตั้ง 3. เป้าหมาย
ดังกล่าวไม่ชอบด้วยกฎหมายด้วยเหตุผลใกล้เคียงกัน (คำาพิพากษาศาล
ปกครองกลางที่ 607 – 608/2549 ลงวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2549) ผลงานวิชาการชิ้นนี้สามารถนำาใช้เป็นข้อมูลในการแก้ไขเพิ่มเติม
จากตัวอย่างดังกล่าวจะเห็นได้ว่าองค์กรตุลาการทั้งสององค์กรได้วินิจฉัย กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้ง อันจะส่งผลให้กระบวนการตรวจสอบ
ข้อพิพาทที่มีทั้งวัตถุแห่งคดีและผลแห่งคดีเช่นเดียวกันในเวลาที่ใกล้เคียง ความชอบด้วยกฎหมายของการเลือกตั้งมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมี
กัน จึงอาจสรุปได้โดยมิต้องพิจารณาถึงผลแห่งคดีว่าการวินิจฉัยคดี ความชอบธรรมในทางประชาธิปไตยสูงขึ้น
ดังกล่าวมีปัญหาด้านความชัดเจนในอำานาจว่าด้วยการวินิจฉัยคดีเลือกตั้ง
ขององค์กรตุลาการ