Page 44 - kpi19815
P. 44
42 การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 43
ของบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ผู้สมัครรับเลือกตั้ง หรือความบกพร่องอันเกิดจาก ประการแรก ในทางทฤษฎี การกำาหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง เป็นต้น ดังนั้น เมื่อ สามารถคัดค้านผลการเลือกตั้งได้ด้วยตนเองผ่านการเสนอคำาร้อง
พิจารณาจากบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันจะพบว่าเขตอำานาจ โดยตรงต่อองค์กรตุลาการ ก็เปรียบเสมือนการกำาหนดให้ประชาชน
ในคดีเลือกตั้งของศาลฎีกานั้นลดน้อยลง ในฐานะเจ้าของอำานาจอธิปไตยสามารถตรวจสอบผลแห่งการแสดง
เจตจำานงทางการเมืองของตนเอง กรณีดังกล่าวย่อมส่งผลให้กระบวนการ
เมื่อพิจารณาจากระบบคดีเลือกตั้งข้างต้น แม้จะมีความ
เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจากการประกาศรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ แต่บทบาท กำาหนดตัวผู้แทนราษฎรมีความชอบธรรมในทางประชาธิปไตยสูงกว่า
ของคณะกรรมการการเลือกตั้งก็ยังมีความสำาคัญอยู่เช่นเดิม กล่าวคือ การกำาหนดให้องค์กรของรัฐเป็นผู้ผูกขาดการตรวจสอบดังกล่าวโดยที่
คณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นองค์กรที่ผูกขาดการริเริ่มกระบวนการ ประชาชนมีบทบาทแค่เพียงการให้ข้อมูลต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง
ตรวจสอบความสุจริตและเที่ยงธรรมของการเลือกตั้ง ไม่ว่าจะเป็นกรณี หรือเป็นพยานในชั้นศาล
ก่อนหรือหลังประกาศผลการเลือกตั้ง หากคณะกรรมการดังกล่าวมิได้ ประการที่สอง ในทางปฏิบัติ หากพิจารณากระบวนการ
ทำาการสืบสวนเพื่อวินิจฉัยชี้ขาดหรือเสนอคำาร้องต่อศาลฎีกาแล้วแต่ จัดการเลือกตั้งและระบบการตรวจสอบการจัดการเลือกตั้ง จะพบว่า
กรณี กระบวนการตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของการเลือกตั้ง คณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นองค์กรที่ผูกขาดทั้งการจัดการเลือกตั้ง
จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ เนื่องจากไม่มีองค์กรหรือบุคคลอื่นใดมีอำานาจ การสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการตรวจสอบกระบวนการการเลือกตั้ง
หรือสิทธิในการเสนอคำาร้องต่อศาลฎีกาเพื่อวินิจฉัยชี้ขาดได้ แม้แต่ และการเสนอคำาร้องต่อองค์กรตุลาการเพื่อวินิจฉัยชี้ขาดประเด็นปัญหา
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งซึ่งเป็นเจ้าของอำานาจอธิปไตยและเป็นผู้มีส่วนได้เสีย ว่าด้วยความชอบด้วยกฎหมายของการเลือกตั้ง ดังนั้น หากกระบวนการ
ในผลการเลือกตั้งโดยตรงก็ไม่มีสิทธิในการริเริ่มกระบวนการตรวจสอบ จัดการเลือกตั้งไม่ว่าจะเป็นการจัดคูหาเลือกตั้ง การนับคะแนน หรือขั้นตอน
ผลแห่งการแสดงเจตจำานงทางการเมืองของตน การมีส่วนร่วมของผู้มีสิทธิ อื่นๆ เกิดปัญหาความชอบด้วยกฎหมาย การตรวจสอบความชอบด้วย
เลือกตั้งในการตรวจสอบความสุจริตและเที่ยงธรรมของการเลือกตั้ง กฎหมายของกระบวนการดังกล่าวโดยคณะกรรมการการเลือกตั้งย่อม
ในประเทศไทยจึงเป็นเพียงการให้ข้อมูลต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง ขัดต่อหลักความเป็นกลาง เพราะคณะกรรมการการเลือกตั้งย่อมไม่
หรือเป็นพยานในชั้นศาลเท่านั้น วินิจฉัยว่าการจัดการเลือกตั้งของตนไม่ชอบด้วยกฎหมาย ในกรณีเช่นนี้
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งควรจะมีสิทธิในการเสนอคำาร้องต่อองค์กรตุลาการ
การกำาหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสามารถเสนอคำาร้องคัดค้าน
กระบวนการจัดการเลือกตั้งหรือผลการเลือกตั้งต่อองค์กรตุลาการได้ เพื่อวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาดังกล่าว นอกจากนี้ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีโอกาส
โดยตรงจะส่งผลกระทบต่อความสุจริตและเที่ยงธรรมของการเลือกตั้ง ที่จะพบความผิดพลาด ความบกพร่อง หรือการทุจริตการเลือกตั้งใน
รวมทั้งพัฒนาการของระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย โดยสามารถ รูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเกิดขึ้นจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือจาก
แยกพิจารณาได้เป็น 2 ประเด็นดังนี้ ผู้สมัครรับเลือกตั้งได้ไม่น้อยไปกว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐ