Page 56 - kpi19815
P. 56
54 การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 55
โดยเจตจำานงของพลเมืองในรัฐเป็นหลัก ไม่จำาเป็นต้องแสดงเจตจำานง ประการที่สาม ตัวแทนของปวงชนมีอำานาจหน้าที่เฉพาะเรื่องที่
ผ่านผู้แทนของชาติตามทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของชาติ เช่นการบัญญัติ ได้รับมอบหมายจากปวงชน กล่าวคือ ตัวแทนของปวงชนมีอำานาจเท่าที่
กฎหมายควรจะผ่านการอภิปรายและลงมติโดยพลเมือง หรืออย่างน้อย ปวงชนกำาหนดให้กระทำาเฉพาะเรื่อง (mandat impératif) หากตัวแทน
ผ่านการลงประชามติโดยพลเมือง แนวคิดดังกล่าวจึงตั้งอยู่บนพื้นฐาน ไม่กระทำาตามหน้าที่ที่ปวงชนมอบหมาย ปวงชนย่อมสามารถถอดถอน
8
ของระบอบประชาธิปไตยโดยตรง (Démocratie directe) และกึ่งโดยตรง ตัวแทนออกจากตำาแหน่งได้ ดังนั้นตัวแทน (délégué) ในที่นี้จึงแตกต่างจาก
(Démocratie semie-directe) มากกว่าระบอบประชาธิปไตยโดยผู้แทน “ผู้แทนของชาติ” (représentant) ตามทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของชาติ
9
(Démocratie représentative) เนื่องจากผู้แทนของชาติที่ได้รับเลือกจากพลเมืองมีเจตจำานงเป็นของ
11
ตนเองในการปฏิบัติภารกิจในด้านต่างๆ ของรัฐ
ประการที่สอง เจตจำานงของปวงชนอาจดำาเนินการผ่านตัวแทน
ของปวงชน กล่าวคือ การปกครองในความเป็นจริงไม่สามารถดำาเนินการ 1.1.3 ความแตกต่างและการปรับใช้ทฤษฎีอำานาจอธิปไตย
โดยปัจเจกชนทั้งหลายในทุกกรณี เช่นการให้พลเมืองทั้งหลายอภิปราย ของชาติและทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของปวงชน
ร่างกฎหมาย ลงมติรับรองร่างกฎหมาย หรือวินิจฉัยปัญหาต่างๆ ใน เมื่อพิจารณาทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของชาติและอำานาจอธิปไตย
ทางการเมืองการปกครองในทุกๆ กรณีย่อมไม่อาจกระทำาได้ ดังนั้น ของปวงชนแล้วจะพบว่าทั้ง 2 ทฤษฎีมีความแตกต่างกันอยู่พอสมควร
การดำาเนินกิจการของรัฐในบางกรณีจะต้องกระทำาผ่านทาง “ตัวแทน เราอาจสรุปความแตกต่างที่เป็นสาระสำาคัญได้ 4 ประการดังนี้
ของปวงชน” (délégué) ซึ่งมาจากการเลือกของพลเมืองทุกคนที่มีอายุ
และสติสัมปชัญญะครบถ้วนตามเกณฑ์ปกติโดยไม่ต้องมีคุณสมบัติ ประการแรก ทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของชาติสอดคล้อง
พิเศษอย่างหนึ่งอย่างใด (suffrage universel) โดยการเลือกตัวแทนของ กับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยโดยผู้แทน (démocratie
ปวงชนตามแนวคิดนี้เป็นสิทธิ (électorat-droit) มิใช่หน้าที่อย่างเช่นการ repésentative) ในขณะที่ทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของปวงชนให้
กำาหนดตัวผู้แทนของชาติ ดังนั้นการที่พลเมืองจะใช้หรือไม่ใช้สิทธิใน ความสำาคัญกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยโดยตรง (démocratie
การเลือกตัวแทนย่อมขึ้นอยู่กับเจตจำานงของแต่ละบุคคลโดยแท้ (vote directe) และประชาธิปไตยกึ่งโดยตรง (démocratie semi-directe)
10
facultatif) ประการที่สอง การเลือกตั้ง (การกำาหนดตัวผู้แทนของชาติ)
ตามทฤษฎีอำานาจอธิปไตยของชาติเป็นหน้าที่ของพลเมือง (électorat-
fonction) ในขณะที่การเลือกตั้ง (การกำาหนดตัวตัวแทนของปวงชน)
8 GICQUEL, J. & GICQUEL, J.E. Ibid. p. 227
9 จะได้อธิบายโดยละเอียดในหัวข้อประเภทของระบอบประชาธิปไตย
10 ARDANT, P. & MATHIEU, B. Ibid. p. 175; โปรดดู VEDEL, G. (2002). Manuel élémen- 11 ARDANT, P. & MATHIEU, B. Ibid. p. 176; และโปรดดู ฐากูร ศิริยุทธ์วัฒนา. อ้างแล้ว.
taire de droit constitutionnel. Paris: Dalloz. pp. 24 – 26 หน้า 146 - 147