Page 132 - kpi19815
P. 132

130                                                                                                               การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง  131


                   กรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าเป็นความบกพร่องที่ร้ายแรง                       3. บทสรุป: สาระส�าคัญของการคัดค้านผลการเลือกตั้ง

                                                       174
           จนนำาไปสู่การยกเลิกผลการเลือกตั้งมีหลายกรณี  ยกตัวอย่างเช่น                            ในต่างประเทศ
           การเสนอชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรโดยความ
           ต้องการของผู้บริหารพรรคแต่เพียงฝ่ายเดียว (กระบวนการคัดเลือก

           ผู้สมัครภายในพรรคปราศจากส่วนร่วมของสมาชิกพรรค) ซึ่งเป็นการ                                      เมื่อได้ทำาการพิจารณากระบวนการคัดค้านผลการเลือกตั้งของ
           กระทำาที่ขัดต่อหลักประชาธิปไตยภายในพรรคการเมือง  การนับ                                ประเทศฝรั่งเศสและเยอรมนีเสร็จสิ้นแล้วจะพบว่าทั้ง 2 ระบบมีสาระ
                                                              175
           คะแนนเสียงผิดพลาดซึ่งส่งผลกระทบต่อผลการเลือกตั้งในเขตเลือกตั้ง                         สำาคัญหลายประการที่ตรงกัน แม้จะปรากฏข้อแตกต่างอยู่พอสมควรก็ตาม
                  176
           ดังกล่าว  หรือกรณีที่รัฐบาลได้ทำาการประชาสัมพันธ์ผลงานของตน                            เพื่อหาข้อสรุปว่ากระบวนการคัดค้านการเลือกตั้งควรจะมีสาระสำาคัญ
           ในช่วงก่อนการเลือกตั้งซึ่งกระทบต่อความเสมอภาคทางโอกาสระหว่าง                           เช่นไรพร้อมอธิบายเหตุผลสนับสนุน เราควรเปรียบเทียบกระบวนการ

                               177
           พรรคการเมืองทั้งหลาย  เป็นต้น                                                          คัดค้านผลการเลือกตั้งของทั้ง 2 ประเทศไปพร้อมๆ กับวิเคราะห์ข้อดี
                                                                                                  ข้อเสียต่างๆ ของทั้ง 2 ระบบ จากนั้นจึงจะสามารถสังเคราะห์บทสรุป
                                                                                                  ของกระบวนการคัดค้านผลการเลือกตั้งที่มีประสิทธิภาพออกมาได้




                                                                                                  3.1  ข้อเปรียบเทียบระหว่�งกระบวนก�รคัดค้�นผลก�รเลือกตั้ง
                                                                                                  ของประเทศฝรั่งเศสและเยอรมนี


                                                                                                           ข้อเปรียบเทียบระหว่างกระบวนการคัดค้านผลการเลือกตั้ง
                                                                                                  ของทั้ง 2 ประเทศอย่างสามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเภทดังนี้


                                                                                                           3.1.1 ผู้มีสิทธิคัดค้านผลการเลือกตั้ง

                                                                                                           ผู้มีสิทธิคัดค้านผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร


           174  โปรดดู ปูนเทพ ศิรินุพงศ์. อ้างแล้ว. หน้า 69                                       ของประเทศฝรั่งเศสมีเพียงบุคคล 2 ประเภทคือผู้มีสิทธิเลือกตั้งและ
           175  H. Lackner, Grundlagen des Wahlprüfungsrechts nach Art. 41 GG, in: JuS 2010,      ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง ในขณะที่ระบบของประเทศเยอรมนีนั้นเปิดโอกาส
           S. 310; อ้างถึงใน ปูนเทพ ศิรินุพงศ์. อ้างแล้ว. หน้า 68                                 ให้ประธานคณะกรรมการการเลือกตั้งทั้งในระดับรัฐและสหพันธรัฐ
           176  คำาวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ BVerfGE 85, 148 (157 f.)
           177  คำาวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ BVerfGE 103, 111 (130 f.)                                รวมทั้งประธานสภาผู้แทนราษฎรมีอำานาจในการเสนอคำาร้องดังกล่าวด้วย
                                                                                                  อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติพบว่าคำาร้องแทบทั้งหมดล้วนมีที่มาจาก
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137