Page 133 - kpi19815
P. 133
132 การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 133
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งสิ้น เราอาจสรุปได้ว่า ในแง่ของผู้มีสิทธิคัดค้านผล ที่สามารถคัดค้านผลการเลือกตั้งได้จะต้องเป็นผู้ที่ได้ไปใช้สิทธิ
การเลือกตั้ง ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีบทบาทมากที่สุดเมื่อเทียบกับผู้มีสิทธิ ลงคะแนนเสียงในเขตเลือกตั้งที่ต้องการจะคัดค้านเท่านั้น ผู้ที่ไม่ได้ไป
คัดค้านอื่นๆ ดังนั้นกระบวนการคัดค้านผลการเลือกตั้งจำาเป็นจะต้อง ใช้สิทธิเลือกตั้งหรือผู้ที่ใช้สิทธิเลือกตั้งในเขตอื่นย่อมไม่มีสิทธิในการ
กำาหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิในการคัดค้านผลการเลือกตั้ง คัดค้านผลการเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้นๆ แต่อย่างใด ในขณะที่ประเทศ
เยอรมนีนั้นกำาหนดให้ผู้ที่มีสิทธิเลือกตั้งสามารถคัดค้านผลการเลือกตั้ง
การกำาหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิคัดค้านผลการเลือกตั้ง
นั้นสอดคล้องกับทฤษฎีอำานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนและระบอบ ได้ในทุกกรณีไม่ว่าจะเป็นผู้ไปใช้สิทธิเลือกตั้งหรือไม่ก็ตาม ความแตกต่าง
ประชาธิปไตยสมัยใหม่เป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเมื่ออำานาจอธิปไตยเป็น ดังกล่าวล้วนมีข้อดีข้อเสียที่แตกต่างกัน ในกรณีของประเทศเยอรมนีนั้น
ของปวงชน โดยประชาชนสามารถแสดงออกผ่านการแสดงเจตจำานง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกคนที่มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิในการ
กำาหนดตัวผู้แทนราษฎรในการเลือกตั้งซึ่งถือเป็นช่องทางหลักในการมี คัดค้านผลการเลือกตั้งได้ เมื่อผู้มีสิทธิคัดค้านมีจำานวนมากอาจส่งผล
ส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยโดยผู้แทน ให้การตรวจสอบความผิดปกติของกระบวนการเลือกตั้งโดยประชาชน
(démocratie représentative) การปล่อยให้รัฐสามารถผูกขาดการตรวจสอบ มีประสิทธิภาพมากขึ้นในทางปฏิบัติ เพราะผู้ที่ไม่ได้ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
ความสุจริตและเที่ยงธรรมแต่ฝ่ายเดียวย่อมเป็นการลดทอนความเป็น ก็อาจเป็นผู้ที่ทราบข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับความไม่ชอบด้วยกฎหมาย
เจ้าของอำานาจอธิปไตยของประชาชน กล่าวคือ เมื่อเกิดความบกพร่อง ของการเลือกตั้งก็ได้ แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาจากเหตุผลทางทฤษฎี
หรือความไม่ชอบด้วยกฎหมายขึ้นในกระบวนการเลือกตั้ง (ไม่ว่าจะ แล้วจะพบว่าการคัดค้านผลการเลือกตั้งก็คือการปกป้องความสุจริต
โดยรัฐหรือบุคคลธรรมดา) เหตุดังกล่าวย่อมกระทบต่อเจตจำานงของ และเที่ยงธรรมของเจตจำานงทางการเมืองที่ประชาชนได้แสดงออกไป
ประชาชนที่ได้แสดงออกผ่านการลงคะแนนเสียงไป เพื่อเป็นการปกป้อง ผู้ที่ไม่ได้ไปใช้สิทธิเลือกตั้งย่อมไม่มีเจตจำานงทางการเมืองในการเลือกตั้ง
เจตจำานงของตนเอง ประชาชนควรจะมีสิทธิในการคัดค้านผลการเลือกตั้ง ดังกล่าว หากกำาหนดให้บุคคลเหล่านี้สามารถคัดค้านผลการเลือกตั้ง
ที่ประชาชนเชื่อว่าไม่ถูกต้องตรงกับเจตจำานงของพวกเขาโดยสุจริตและ อันเกิดจากเจตจำานงของผู้อื่นย่อมเป็นเรื่องที่อธิบายในทางทฤษฎีได้ยาก
เที่ยงธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากความบกพร่องดังกล่าวเกิดขึ้นโดยรัฐ เราอาจสรุปได้ว่า ผู้มีสิทธิคัดค้านผลการเลือกตั้งควรจะเป็นผู้ที่ได้ไปใช้
ประชาชนยิ่งต้องเป็นผู้มีบทบาทในการริเริ่มกระบวนการตรวจสอบ สิทธิเลือกตั้งในครั้งนั้น
การทำาหน้าที่จัดการเลือกตั้งของรัฐยิ่งกว่ากรณีของการกระทำาความผิด 3.1.2 เงื่อนไขและผลของคำาร้อง
โดยผู้สมัครรับเลือกตั้ง
ในประเทศฝรั่งเศส ผู้มีสิทธิคัดค้านผลการเลือกตั้งจะต้องเสนอ
ทั้งนี้ แม้ทั้ง 2 ประเทศจะมีการกำาหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง คำาร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญภายใน 10 วันนับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้ง
สามารถคัดค้านผลการเลือกตั้งได้ แต่ปรากฏความแตกต่างในรายละเอียด ในส่วนของประเทศเยอรมนี ผู้มีสิทธิคัดค้านผลการเลือกตั้งสามารถเสนอ
ที่สำาคัญอยู่ประการหนึ่ง กล่าวคือ ในประเทศฝรั่งเศส ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง คำาร้องต่อสภาผู้แทนราษฎรได้ภายในเวลา 2 เดือนนับแต่วันประกาศ