Page 66 - kpi19164
P. 66

วัตถุประสงค์ส ำคัญ 3 ประกำร คือ (1) เพื่อให้สหกรณ์เป็นเครื่องมือป้องกันไม่ให้ที่ดินตกอยู่ในมือของ
                                                 49
                   “คนมั่งมี (capitalist)” ที่มิได้ท ำนำ  ชำวนำส่วนใหญ่ควรมีที่ดินเป็นของตัวเอง ซึ่งจำกกำรส ำรวจ
                   ของคำร์ล ซี ซิมเมอร์แมน เกี่ยวกับเศรษฐกิจชนบทสยำมช่วงปี พ.ศ. 2473-2474 พบว่ำ ในสมัย

                   รัชกำลที่ 7 มีปัญหำคนมั่งมีที่ไม่ได้ท ำนำเป็นจ ำนวนมำก คนมั่งมีเหล่ำนี้เป็นเจ้ำของที่ดินที่ชำวนำเช่ำ
                   ท ำนำ เป็นนำยทุนออกเงินให้ชำวนำกู้ ซึ่งมีทั้งพ่อค้ำคนกลำงที่เป็นคนจีนและคนไทย และข้ำรำชกำร

                         50
                   ของรัฐ  (2) เพื่อให้ “สหกรณ์เป็นสิ่งสร้ำงส ำนึกทำงกำรเมือง” เพื่อกำรมีส่วนร่วมทำงกำรเมืองของ
                   ประชำชนต่อไปในอนำคต เนื่องจำกกำรจัดระบบสหกรณ์เป็นพื้นฐำนเบื้องต้นของกำรปกครองใน
                   ระบอบประชำธิปไตย และ (3) เพื่อลดจ ำนวนข้ำรำชกำรของรัฐที่ตั้งตัวเป็นนำยทุนให้ชำวนำกู้ยืมลง

                   และเป็นกำรลดควำมส ำคัญของกลุ่มนำยทุนท้องถิ่นที่ให้ชำวนำกู้ยืม เช่น ชำวนำที่ร่ ำรวย พ่อค้ำชำว

                   จีน เป็นต้น จะเห็นได้ว่ำ กำรขยำยงำนด้ำนสหกรณ์ตำมแนวพระรำชด ำริของรัชกำลที่ 7 ทรงเน้น
                                                                   51
                   สหกรณ์เข้ำไปมีส่วนร่วมทั้งด้ำนเศรษฐกิจและกำรเมืองด้วย


                       •  ภาวะเศรษฐกิจตกต่่ากับกิจการสหกรณ์
                           ผลจำกสงครำมโลกครั้งที่ 1 ส่งผลให้เศรษฐกิจโลกประสบกับภำวะผันผวน ปัญหำที่ส ำคัญที่

                   กระทบภำวะเศรษฐกิจไทยในช่วงทศวรรษ 2470 คือ ปัญหำควำมไร้เสถียรภำพของอัตรำแลกเปลี่ยน

                   โดยระบบมำตรฐำนทองค ำ ปัญหำผลผลิตทำงกำรเกษตรล้นตลำด กำรเพิ่มขึ้นของกำรกีดกันทำง
                   กำรค้ำ  กำรหดตัวของกำรลงทุนจำกต่ำงประเทศ รวมถึงปัญหำเศรษฐกิจตกต่ ำทั่วโลก บริบทกำร

                   ตกต่ ำทำงเศรษฐกิจโลกในทศวรรษ 2470 ได้ส่งผลกระทบต่อกำรส่งออกเป็นอย่ำงมำก โดยเฉพำะ

                   กำรส่งออกข้ำว ซึ่งในขณะนั้นไทยเป็นประเทศที่ส่งออกข้ำวรำยใหญ่ของโลกและพึ่งพำกำรส่งออก
                   ข้ำวเป็นรำยได้ที่ค่อนข้ำงสูง นอกจำกนี้กำรท ำนำยังเป็นอำชีพที่ส ำคัญของคนไทยที่สูงกว่ำร้อยละ 80

                   ของกำรจ้ำงงำนในทศวรรษ 2470 ในปี พ.ศ. 2470 นำข้ำวมีสัดส่วนมำกกว่ำร้อยละ 95 ของพื้นที่




                   49  คนมั่งมีที่มิได้ท ำนำ หมำยถึง เจ้ำของที่ดินที่ให้เช่ำนำ พวกข้ำรำชกำร นำยทุนในท้องถิ่นรวมถึงพ่อค้ำคนกลำง ใน กองจดหมำยเหตุ
                   แห่งชำติ, ร.7 พ.9/1 พระรำชกระแสพระบำทสมเด็จพระปกเกล้ำเจ้ำอยู่หัว พระรำชทำนแก่กรมพระก ำแพงเพชรอัครโยธิน 15
                   เมษำยน พ.ศ.2473 อ้ำงใน ปรำณี กล่ ำส้ม, (2529) “กำรแก้ปัญหำเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับชำวนำโดยวิธีกำรสหกรณ์ในรัชสมัย
                   พระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัวและพระบำทสมเด็จพระปกเกล้ำเจ้ำอยู่หัว”, หน้ำ 86.
                   50  ในข้อเสนอของซิมเมอร์แมนในเรื่องกำรแก้ปัญหำหนี้สินชำวนำและจัดหำทุนให้กับชำวนำในชนบท ได้เสนอให้เร่งกำรขยำยและ
                   จัดตั้งสหกรณ์เพิ่มขึ้น อ้างใน คำร์ล ซี. ซิมเมอร์แมน, แปลโดย ซิม วีระไทยะ, (2525), การส ารวจเศรษฐกิจในชนบทแห่งสยาม
                   (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงกำรต ำรำสังคมศำสตร์และมนุษยศำสตร์), หน้ำ 109-110.
                   51  กองจดหมำยเหตุแห่งชำติ, ร.7 พ7/4 กรมพระก ำแพงเพชรอัครโยธิน ทูลเกล้ำถวำยร่ำงนโยบำยที่ทรงแถลงในฐำนะนำยกสภำ
                   เผยแพร่พำณิชย์ แด่พระบำทสมเด็จพระปกเกล้ำเจ้ำอยู่หัว เพื่อขอพระรำชทำนพระบรมรำชำนุมัติ 3 เมษำยน พ.ศ. 2469 อ้ำงใน
                   ปรำณี กล่ ำส้ม, (2529) “กำรแก้ปัญหำเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับชำวนำโดยวิธีกำรสหกรณ์ในรัชสมัยพระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำ
                   เจ้ำอยู่หัวและพระบำทสมเด็จพระปกเกล้ำเจ้ำอยู่หัว”, หน้ำ 87.

                                                            57
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71