Page 67 - kpi19164
P. 67

กำรถือครองเพื่อกำรเกษตรทั้งหมดมูลค่ำกำรส่งออกข้ำวในสถำณกำรณ์ปกติมีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ
                                         52
                   70 ของกำรส่งออกทั้งหมด  แต่ด้วยภำวกำรณ์ซบเซำทำงเศรษฐกิจมีผลต่ออุปสงค์กำรน ำเข้ำข้ำว ท ำ
                   ให้รำคำตกต่ ำลงอย่ำงต่อเนื่อง อัตรำกำรขยำยตัวของกำรส่งออกก็ลดต่ ำลง รำคำข้ำวตกต่ ำลงถึง 2

                   ใน 3 รำคำที่ดินลดลงเหลือ 1 ใน 6 ซึ่งต่อเนื่องมำนับตั้งแต่สงครำมโลกครั้งที่ 1 จำกภำวะเช่นนี้ ได้
                   ส่งผลต่อภำวะหนี้สินของชำวนำมีเพิ่มมำกขึ้น

                           ผลจำกกำรส ำรวจภำวะทำงเศรษฐกิจของนำยซิมเมอร์แมน  ในช่วงปี พ.ศ. 2473 – 2474
                                                                           53
                   กล่ำวไว้ใน รายงานการส ารวจเศรษฐกิจในชนบทแห่งสยาม (Siam, Rural Economic Survey
                   1930 – 1931) ท ำให้สรุปประเด็นส ำคัญได้ 2 ประเด็น คือ (1) ปัญหำหนี้สินของชำวนำไทยในปี

                   2473 ที่ชำวนำประสบปัญหำหนี้สิน เนื่องจำกภำวะเศรษฐกิจที่ตกต่ ำท ำให้ชำวขำดทุนในกำรท ำนำ

                   เพรำะรำคำข้ำวตกต่ ำแต่อัตรำดอกเบี้ยกู้ยืมอยู่ในระดับสูง ท ำให้มีหนี้เพิ่มสูงขึ้น และด้วยกำรปรับตัว
                   ของชำวนำจำกกำรผลิตเพื่อยังชีพมำเป็นกำรผลิตเพื่อกำรค้ำ ชำวนำส่วนใหญ่ไม่ค่อยช ำระหนี้ที่ค้ำงไว้

                   จะช ำระเฉพำะดอกเบี้ยในแต่ละปีเท่ำนั้น (ไม่มีกำรสะสมทุนเพื่อกำรลงทุน แต่กลับน ำก ำไรที่ได้ไปใช้

                   จ่ำยอื่นๆ ที่ไม่ใช่กำรลงทุน) เมื่อเกิดภำวะเศรษฐกิจตกต่ ำและรำคำตกต่ ำลงอย่ำงรวดเร็ว ท ำให้
                   ชำวนำเหล่ำนี้ตั้งรับกับสถำนกำรณ์ไม่ทัน ท ำให้หนี้สินชำวนำเพิ่มขึ้นในช่วงที่เกิดวิกฤต และ (2)

                   ปัญหำที่ดิน ซึ่งกำรส ำรวจได้พบว่ำ อัตรำกำรที่ชำวนำไร้ที่ดินมีสูง (เนื่องจำกกำรมีหนี้สิน) และมีเจ้ำ

                   ที่ดิน (absentee landlords) ที่สะสมที่ดินโดยที่มิได้ท ำกำรเพำะปลูก ส่วนใหญ่เจ้ำที่ดินเหล่ำนี้อำศัย
                                                                                                54
                   อยู่ในเมืองใหญ่  และกลุ่มนี้ที่เป็นนำยหน้ำที่ปล่อยเงินกู้ให้กับชำวนำ ซึ่งมีอัตรำดอกเบี้ยที่สูง  เมื่อ
                   ชำวนำไม่สำมำรถช ำระหนี้สินที่ยืมมำได้ ต้องสูญเสียกรรมสิทธิ์ที่ดินให้กับนำยหน้ำปล่อยเงินกู้เหล่ำนี้

                           ผลจำกกำรส ำรวจครั้งนี้ ได้มีข้อเสนอให้รัฐบำลสยำมขยำยและเพิ่มสำขำของสหกรณ์ เพื่อ
                   จัดหำทุนให้ชำวนำกู้ยืม และท ำหน้ำที่สั่งสอน แนะน ำชำวนำให้รู้จักกำรเพำะปลูกเพื่อกำรค้ำ ซึ่ง

                   สหกรณ์ที่อยู่ภำยใต้กำรดูแลของเจ้ำหน้ำที่รัฐ ท ำหน้ำที่ให้เงินกู้ แนะน ำให้ควำมรู้เชิงพำณิชย์ และ

                   ควบคุมเงินกู้ ตลอดจนกำรใช้จ่ำยของชำวนำ ด้วยเหตุนี้ คณะส ำรวจได้เสนอให้ ขยำยกิจกำรสหกรณ์



                   52  พอพันธ์ อุยยำนนท์, เศรษฐกิจไทยในสมัยรัชกาลที่ 7: รักษาเสถียรภาพ ปูพื้นฐานการพัฒนา, น.30.
                   53  ดร.คำร์ล ซี. ซิมเมอร์แมน เป็นศำสตรำจำรย์ทำงสังคมวิทยำ มหำวิทยำลัยฮำร์วำร์ด สหรัฐอเมริกำ เมื่อ พ.ศ.2473 รัฐบำลสยำม
                   ในช่วงปลำยรัชสมัยพระบำทสมเด็จพระปกเกล้ำเจ้ำอยู่หัว รัชกำลที่ 7 ได้เชิญนำยซิมเมอร์แมนเข้ำมำท ำกำรส ำรวจสภำพเศรษฐกิจ
                   ของชนบทสยำม สืบเนื่องมำจำกสภำวะเศรษฐกิจตกต่ ำทั่วโลก พ.ศ.2472 – 2477 (Great Depression 1929 – 1934) เศรษฐกิจ
                   ตกต่ ำทั่วโลกเป็นภำวะควำมปั่นป่วนครั้งใหญ่ที่สุดในโลกสมัยใหม่ ซึ่งมีสำเหตุมำจำก (1) ผลกำรเกษตรที่เกิดขนำด และ (2) วิกฤตกำร
                   คลัง อ้างใน คำร์ล ซี. ซิมเมอร์แมน, แปลโดย ซิม วีระไทยะ, (2525), การส ารวจเศรษฐกิจในชนบทแห่งสยาม, น. (1) – (2).
                   54  จำกกำรส ำรวจของนำยซิมเมอร์แมน อัตรำดอกเบี้ยที่ต้องเสียให้กับนำยหน้ำปล่อยเงินกู้ ในภำคกลำงร้อยละ 15 ถึง 30 ต่อปี เฉพำะ
                   ในธัญบุรีสูงถึงร้อยละ 50 ถึง 60 ในภำคเหนืออัตรำดอกเบี้ยร้อยละ 15 – 24 ต่อปี ในภำคใต้และภำคตะวันออกเฉียงเหนืออัตรำ
                   ดอกเบี้ยร้อยละ 24 ถึง 36 อ้างใน คำร์ล ซี. ซิมเมอร์แมน, แปลโดย ซิม วีระไทยะ, (2525), การส ารวจเศรษฐกิจในชนบทแห่งสยาม,
                   น.118..

                                                            58
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72