Page 111 - kpi19164
P. 111

18
                   แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554)
                       •  สถานการณ์การพัฒนา

                           การบริหารจัดการกระบวนการชุมชนเข้มแข็ง ด้วยการส่งเสริมการรวมตัวเรียนรู้ร่วมคิดร่วม

                   ทดลองปฏิบัติจริง รวมทั้งการเสริมหนุนกลุ่มที่มีการรวมตัวอยู่แล้วให้เข้มแข็ง เน้นศักยภาพความ
                   พร้อมของชุมชน เชื่อมโยงกับการท ามาหาเลี้ยงชีพตั้งแต่ระดับปัจเจก ระดับครอบครัวจนถึงระดับ

                   ชุมชน ค านึงถึงความพอประมาณและความพออยู่พอกินเป็นล าดับแรกก่อนที่จะเชื่อมต่อกับชุมชน

                   และสังคมภายนอก มีกระบวนการจัดการองค์ความรู้อย่างเป็นขั้นเป็นตอน มีเครือข่ายการเรียนรู้ทั้ง
                   ภายในและภายนอก และมีการจัดการองค์ความรู้และระบบการเรียนรู้ของชุมชนอย่างครบวงจร จัด

                   ให้มีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในชุมชนอย่างต่อเนื่องสม่ าเสมอ ร่วมคิดร่วมท า ร่วมก าหนดแนวทาง

                   และกิจกรรมการพัฒนาของชุมชนที่ยึดหลักการพึ่งพาตนเองด้วยศักยภาพทรัพยากร ภูมิปัญญา วิถี
                   ชีวิต วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น โดยน าข้อมูลชุมชนมาวิเคราะห์หาปัญหาและสาเหตุ

                   ค้นหาทางออก น าไปทดลองปฏิบัติจริง มีเครือข่ายการศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีการต่อยอด

                   ปรับใช้ประโยชน์โดยใชแหล่งทุนในชุมชน อาทิธนาคารประชาชน สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนและกอง
                   ทุนตางๆ ของหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นต้น พัฒนาความต้องการของชุมชนให้เป็นแผนชุมชนไปเชื่อมโยง

                   กับแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนยุทธศาสตร์จังหวัด และแผนอื่นๆ ตามความเหมาะสม

                           อีกทั้งยังสนับสนุนการระดมทุนในชุมชนเพื่อการออมทรัพย์ในรูปแบบต่างๆ เช่น กลุ่มสัจจะ
                   ออมทรัพย์ สหกรณ์ออมทรัพย์ การออมวันละบาท ฯลฯ เพื่อเป็นแหล่งทุนในการพัฒนาอาชีพ และ

                   จัดสวัสดิการขั้นต้นของชุมชน ควบคู่กับการสร้างวินัยในการใช้จ่าย



                       •  สรุปสาระส าคัญของแผน
                           ภายใต้บริบทการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ที่

                   ได้ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์การพัฒนาของประเทศไปในทิศทางการพึ่งพาตนเอง ตามแนวทาง

                   ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ควบคู่ไปกับการพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวมที่ยึด “คนเป็น
                   ศูนย์กลางการพัฒนา” นั้น นับว่าเป็นไปในทิศทางเดียวกับการพัฒนาสหกรณ์ ดังนั้นจึงถือได้ว่าเป็น

                   ช่วงเวลาที่เหมาะสมที่ขบวนการสหกรณ์จะแสดงให้เห็นขีดความสามารถและพลังของระบบสหกรณ์

                   ในการเชื่อมโยงการพัฒนาอย่างบูรราการทั้งในมิติตัวคน สหกรณ์ ขบวนการและเครือข่ายให้เป็น
                   ระบบสหกรณ์ที่มีคุณค่า โดยมุ่งเน้นไปที่การปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาให้สหกรณ์เป็นไปใน





                   18  ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 -

                   2554.


                                                           101
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116