Page 590 - kpi17073
P. 590

ตางชาติตางชื่นชมพากันเ ินเที่ยว ูเมืองเกา ูวั เ ารู  งความสําคัญวาวั ไ นเป นวั  รก องจัง วั เชียงใ ม
                     ตสิ่งที่สวนกลางมาจั การเรื่องการทองเที่ยวใ เชียงใ มกลับไปสรางไนท า ารี

                            การรวมศูนยทําใ เกิ  ลกระทบ  ตัว นังสือเมืองภาคเ นือ ายไป  ตัว นังสือทางภาคอีสานก  ายไป
                    ตัว นังสือ องพี่นองกะเ รี่ยง ายไป  อํานาจการตั สินใจ  เรื่องน ํา ินป า ายไป  ประวัติศาสตรทอง ิ่นเชน
                    ประวัติศาสตร ุน ลวงวิลังก ะ พระนางจามเทวี พญาเม งราย ายไป เ  กรุนใ มไ เรียนประวัติศาสตรเสนตรงที่
                    รัฐสวนกลางกํา น ใ  อัตลัก  ความเป นทอง ิ่น องเรา ูกทําลาย เพื่อทําใ เ มือนกันทั งประเทศ ทอง ิ่นไม
                    สามาร ใชศักยภาพที่มีอยูมาจั การตนเองไ เป น ตเพียง ูรอง อ ละรอคอย
                    ทอง ิ่นเ มือนกัน ม  ตั ง ตการกอสรางศาลากลาง ส านีอนามัย เป นตน ในประเทศอเมริกา พบชนเ า น ่งมี
                    เ ลืออยูเพียง     คน  อเมริกาทุมเงิน ลายรอยลาน อลลารเพื่อ   น ูชนเ านี    ตที่ประเทสไทยกลับใชเงิน ลาย
                     มื่นลานเพื่อทําลายชนเ า เพราะอยากใ มีเอกลัก  เ มือนกันทั งประเทศ
                    การ คล ่อนตัวทางประวัติศาสตรไทย                                       สิ่งที่ไ รับจากสวนกลางทุก
                          ประวัติศาสตรการเปลี่ยน ปลงทางการเมือง องประเทศไทย จะเกิ เ ตุการ ใ ญ   นทุกรอบ    ป  เริ่ม
                    ในป  2  5 รัชการที่ 5 รวมอํานาจ ัวเมืองเ าสูสวนกลาง, ป  2 75 รัชกาลที่ 7 พระราชทานรัฐธรรมนูญ, ป  25    589
                                                                                                 การประชุมวิชาการ
                    เกิ การตอสู องภาคประชาชนเพื่อ ับไลเ   จการท าร                    สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 16
























                            ก่อนปี พ.ศ. 2435 ท้องถิ่นจังหวัดแบบในปัจจุบันนี้ ถูกเรียกว่า หัวเมือง มี หัวเมือง
                            กอนป  พ ศ  2  5 ทอง ิ่นจัง วั  บบในปจจุบันนี   ูกเรียกวา  ัวเมือง มี  ัวเมืองเชียงใ ม  ัวเมือง
                      เชียงใหม่ หัวเมืองพิษณุโลก หัวเมืองปัตตานี เป็นต้น และหัวเหมืองเหล่านี้เป็นอิสระ มีการ
                    พิ  ุ ลก  ัวเมืองปตตานี เป นตน  ละ ัวเ มืองเ ลานี เป นอิสระ มีการปกครองตนเองทั งสิ น
                      ปกครองตนเองทั้งสิ้น
                            ป  พ ศ  2  5 อยูในชวงที่สยามประเทศกําลังเ ชิญกับลัทธิลาอา านิคม อังก    รั่งเศสตางมุง วังเอา

                    ประ ยชนจากประเทศสยาม  ังนั นรัชกาลที่ 5 จ งตองปฏิรูปประเทศ  ยการรวมศูนยอํานาจ จั ตั ง  2 กระทรวง
                            ปี พ.ศ. 2435 อยู่ในช่วงที่สยามประเทศกำลังเผชิญกับลัทธิล่าอาณานิคม อังกฤษ ฝรั่งเศส
                      ต่างมุ่งหวังเอาประโยชน์จากประเทศสยาม ดังนั้นรัชกาลที่ 5 จึงต้องปฏิรูปประเทศโดยการรวม
                    ทบวง กรม เพื่อสรางความเป นบ ก  น   ่งเป นความเ มาะสมกับส านการ ทางการเมืองใน  ะนั น
                      ศูนย์อำนาจ จัดตั้ง 12 กระทรวง ทบวง กรม เพื่อสร้างความเป็นบึกแผ่น ซึ่งเป็นความเหมาะสม
                      กับสถานการณ์ทางการเมืองในขณะนั้น             4

                            ปี พ.ศ. 2475 รัชกาลที่ 7 ถูกเรียกร้อง และกดดันจากคณะราษฎร ทำให้มีการ
                      เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เป็นระบอบประชาธิปไตย พระองค์

                      ต้องสละอำนาจให้กับประชาชน โดยมีกระแสพระราชดำรัส “ข้าพเจ้ามีความเต็มใจที่จะสละอำนาจ
                      อันเป็นของข้าพเจ้าอยู่แต่เดิมแก่ราษฏรโดยทั่วไป แต่ข้าพเจ้าไม่ยินยอมยกอำนาจทั้งหลายของ
                      ข้าพเจ้าให้แก่ผู้ใด คณะใด โดยเฉพาะเพื่อใช้อำนาจนั้นโดยสิทธิขาด และโดยไม่ฟังเสียง

                      อันแท้จริงของประชาราษฎร” แต่หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นต้นมา อำนาจไม่เคยอยู่
                      ในมือของประชาชนอย่างแท้จริง แต่ตกอยู่กับกลุ่มบุคคลใดบุคคลหนึ่ง และผลัดเปลี่ยนกันขึ้น

                      ปกครอง ผลัดกันยึดอำนาจมาโดยตลอด

                            ปี พ.ศ. 2515 – 2519 เกิดเหตุการณ์เรียกร้องของประชาชนเพื่อขับไล่เผด็จการ 14 ต.ค

                      2516  และ16 ตุลา 2519 เกิดเหตุการณ์ต่อสู้เรียกร้องของประชาชนกับรัฐบาล ทำให้มีการ
                      สลายการชุมชนของประชาชนเกิดการเข่นฆ่าประชาชน และปัจจุบันก็ยังคงเกิดการต่อสู้เรียกร้อง

                      ของประชาชนกับรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง และเกิดถี่ขึ้นมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ                       การประชุมกลุ่มย่อยที่ 6
   585   586   587   588   589   590   591   592   593   594   595