Page 477 - kpi17073
P. 477
476 การประชุมวิชาการ
สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 16
-เจ้าหน้าที่รัฐสามารถสั่งห้าม หรือกำหนดเงื่อนไขในการ ชุมนุมได้ โดยกฎหมายมิได้ ระบุว่าถ้าผู้จัดชุมนุมไม่เห็น ด้วยกับคำสั่งห้ามจะต้อง อุทธรณ์หรือร้องที่ใคร แต่ เป็นเรื่องที่อยู่ในเขตอำนาจ ศาลปกครองในการวินิจฉัย -เจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถสั่ง ห้ามการชุมนุมได้ถ้าเห็นว่า อาจก่อให้เกิดความไม่สงบ เรียบร้อย แต่ผู้จัดการชุมนุม ก็สามารถอุทธรณ์ต่อ ผู้บัญชาการตำรวจระดับสูง ขึ้นไป -ตำรวจมีอำนาจแจ้งให้ ผู้จัดการชุมนุมยุติการชุมนุม เมื่อเกิดการละเมิดกฎหมาย ขึ้น หากผู้จัดการช
เกาหลีใต้
-เจ้าหน้าที่รัฐสามารถสลาย การชุมนุมได้ตามขั้นตอน -เจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถ สลายการชุมนุมได้ต่อเมื่อ ผลแล้วเท่านั้น ทั้งจะต้อง ประกาศให้ผู้ชุมนุมทราบ ก่อนว่าจะมีการสลาย การชุมนุม
เยอรมนี มาตรการอื่นไม่สามารถใช้ได้
-เจ้าหน้าที่ตำรวจ ออกใบรับ แจ้งทันที แต่เจ้าหน้าที่ ตำรวจสามารถมีคำสั่งห้าม ชุมนุมได้ โดยต้องแจ้งไปยัง ผู้ลงนามในหนังสือทันที สำหรับนายกเทศมนตรี ก็สามารถห้ามการชุมนุมได้ โดยต้องส่งรายงานพร้อม หมายห้ามให้ผู้ว่าราชการ จังหวัดทราบภายใน 24 ชั่วโมง -ประชาชนมีสิทธิในการ อุทธรณ์ข้อห้าม แต่ต้องฟ้อง ร้องต่อศาลปกครองในการ เพิกถอนคำสั่งห้าม
ฝรั่งเศส
- ไม่มีการกำหนดขั้นตอน ของเจ้าหน้าที่ตำรวจในการ รับแจ้งบอกกล่าว - ตำรวจไม่มีอำนาจห้าม การชุมนุม แต่ถ้าเกิดความ วุ่นวายก็สามารถจับกุม ไปดำเนินคดีอาญาต่อ ศาลยุติธรรม
สหรัฐ
- เจ้าหน้าที่ตำรวจจะต้อง ออกใบรับคำบอกกล่าว ให้ยุติ/สลายการชุมนุม โดยจะกำหนดเงื่อนไขในการ ตำรวจไม่เห็นด้วย ก็จะยื่น ให้มีคำสั่งห้ามชุมนุม - ผู้นำการชุมนุมสามารถ อุทธรณ์ต่อสภาเทศบาล ที่ออกคำสั่งห้ามได้ ทั้งนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง มหาดไทย
อังกฤษ ชุมนุมหรือมีคำสั่งห้ามได้ใน คำบอกกล่าว หากเจ้าหน้าที่ หนังสือต่อสภาเทศบาลเพื่อ ในอังกฤษการออกคำสั่งห้าม ต้องได้รับความเห็นชอบจาก
การประชุมกลุ่มย่อยที่ 5 ประเด็น อำนาจเจ้าหน้าที่ ควบคุมการชุมนุม สั่ง และการอุทธรณ์