Page 225 - kpi11890
P. 225

การพัฒนาดานความรูทางวิชาการอยางตอเนื่อง เชน การศึกษาหาความรู การเขารับการอบรมเพิ่มเติม
      อยางสม่ําเสมอ การติดตามความเปลี่ยนแปลง การศึกษาดูงานศูนยพัฒนาเด็กเล็กที่มีคุณภาพ การเขา
      รวมเปนสมาชิกและจัดตั้งชมรมเครือขายผูดูแลเด็ก เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณระหวางกันตอไป
      ดังนั้น จึงไดมีความรวมมือระหวางกันของนักวิชาการศึกษาของอําเภอภูเพียง จังหวัดนาน จํานวน 7 คน
      นักวิชาการการศึกษาอําเภอเมืองนาน จํานวน 10  คน ผูดูแลเด็กศูนยพัฒนาเด็กเล็กอําเภอเมืองนาน
      จํานวน 68 คน และผูดูแลเด็กศูนยพัฒนาเด็กเล็กอําเภอเมืองนาน จํานวน 35 คน ทั้งหมดมาจากองคการ
      บริหารสวนตําบล 17 แหง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ (1) เพื่อสงเสริมความรูผูดูแลเด็กในเรื่องการพัฒนา
      เด็กทั้งกาย ใจ และสติปญญา และ (2) เพื่อใหผูดูแลเด็กในเขตอําเภอเมืองนานและอําเภอภูเพียงได
      แลกเปลี่ยนเรียนรูทางดานวิชาการ ประสบการณระหวางกัน
           นอกจากความรวมมือในการอบรมจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นทั้ง 17 แหงแลว ยังไดรับ
      ความรวมมือในการใหความรูความเขาใจในการอบรมจากเครือขายอื่น ๆ เชน กลุมพัฒนาความรวมมือ
      ทันตสาธารณสุขระหวางประเทศ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนาน และโรงพยาบาลนานอีกดวย
           9 สิงหาคม พ.ศ.2550 ไดจัดทํา “โครงการหนูนอยฟนดี” ซึ่งเปนกิจกรรมสงเสริมสุขภาพทาง
      ชองปากเด็กกอนวัยเรียนในศูนยพัฒนาเด็กเล็ก โดยมีหลักการและเหตุผลวาโครงการดูแลสุขภาพในชอง
      ปากเด็ก อายุ 0-5 ป ไดผานมาเปนระยะเวลาอยางตอเนื่องจํานวน 2 ปแลว ดังนั้นศูนยพัฒนาเด็กเล็ก
      ตําบลผาสิงหจึงไดจัดกิจกรรมสงเสริมสุขภาพทางชองปาก เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและเกิดผลดีแกเด็ก
      และเพื่อเปนการกระตุน สงเสริมความรู ความเขาใจในการปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพในชองปากของเด็ก
      ใหกับผูปกครองอยางตอเนื่อง และเปนการตอยอดโครงการที่เคยปฏิบัติมา เพื่อกระตุนใหผูปกครองไดมี
      ความรูและความเขาใจที่ถูกตอง ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อ (1) สงเสริมความเขาใจและความรวมมือในการ
                                                     บันทึกเรื่องเด่นรางวัลพระปกเกล้า’ 52
      พัฒนาเด็กระหวางศูนยพัฒนาเด็กเล็กผูปกครองและชุมชน (2) สงเสริมใหผูปกครองไดตระหนักและให 22
      ความสําคัญในการดูแลสุขภาพชองปากใหกับบุตรหลานของตนเอง (3) เพื่อเปนโครงการตอเนื่องและตอ
                 ส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพทางช่องปากให้กับเด็กและส่งเสริมประสบการณ์ให้เด็ก
      ยอดใหการดูแลสุขภาพทางชองปากเด็กใหมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล และ(4) เพื่อใหชุมชนและ
                 อย่างถูกต้อง ทั้งนี้มีเป้าหมายมุ่งไปที่ผู้ปกครองและเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบล
      ผูปกครองเด็กไดมีสวนรวมในการดูแลสุขภาพทางชองปากใหกับเด็กและสงเสริมประสบการณใหเด็ก
                 ผาสิงห์ ได้ตระหนักและให้ความสำคัญ ตลอดจนมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแล
      อยางถูกตอง ทั้งนี้มีเปาหมายมุงไปที่ผูปกครองและเด็กในศูนยพัฒนาเด็กเล็กตําบลผาสิงห ไดตระหนัก
                 สุขภาพทางช่องปากเด็กได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
      และใหความสําคัญ ตลอดจนมีความรู ความเขาใจในการดูแลสุขภาพทางชองปากเด็กไดอยางถูกตองและ
      เหมาะสม
                      ปี พ.ศ.2551 ได้มีการ
            ป พ.ศ.2551    ไดมีการจัดทํา
                 จัดทำ “โครงการร่วมด้วย
      “โครงการรวมดวยชวยแปรง” ซึ่งการจัดทํา                                       ด้านด้านการเสริมสร้างเครือข่าย รัฐ เอกชน และประชาสังคม
                 ช่วยแปรง” ซึ่งการจัดทำ
      โครงการนี้มาจากจุดกําเนิดที่เครือขาย
                 โครงการนี้มาจากจุดกำเนิดที่
      อาสาสมัครสาธารณสุขของชุมชน ไดทําการ
                 เ ค รื อ ข่ า ย อ า ส า ส มั ค ร
      สัมภาษณพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็ก
                 สาธารณสุขของชุมชน ได้
      ของผูปกครอง และพบวาผูปกครองมีความถี่
                 ทำการสัมภาษณ์พฤติกรรม
      ในการแปรงฟนซ้ําใหเด็กเพียงรอยละ 19.4
                 การดูแลทันตสุขภาพเด็กของ
      และยังมีวิธีการแปรงไมถูกตองเพราะเวลาที่
                 ผู้ปกครอง และพบว่าผู้ปกครองมีความถี่ในการแปรงฟันซ้ำให้เด็กเพียงร้อยละ
                 19.4 และยังมีวิธีการแปรงไม่ถูกต้องเพราะเวลาที่แปรงส่วนใหญ่ เป็นเวลาหลังตื่น  9

                 นอนตอนเช้า ในขณะที่การแปรงฟันก่อนนอนเป็นเวลาสำคัญที่ควรปฏิบัติ จึงส่งผล
                 ให้เด็กฟันไม่สะอาด และมีฟันผุเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นศูนย์ทันตสุขภาพ ร่วมกับสถานี
                 อนามัยตำบลผาสิงห์และองค์การบริหารส่วนตำบลผาสิงห์จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
                 เพื่อเพิ่มทักษะกระตุ้นการดูแลเด็กให้มีการแปรงฟันซ้ำให้เด็ก เน้นให้เด็กได้รับการ
                 แปรงฟันก่อนนอนโดยผู้ปกครอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เด็กได้รับการแปรงฟัน
                 ก่อนนอนโดยผู้ปกครองเพิ่มขึ้น และเพื่อลดปริมาณแผ่นคราบจุลินทรีย์ในช่องปาก
                 ของเด็ก

                      10 กันยายน พ.ศ.2552 มีการจัด “โครงการเยี่ยมบ้านสานสัมพันธ์”
                 ซึ่งเป็นกิจกรรมการอบรมรมและปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพทางช่องปากเด็กวัยเรียน
                 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลผาสิงห์ โดยมีจุดมุ่งหมายที่เห็นว่า ผลการดำเนินงานอย่าง

                 ต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 6 ปีที่ผ่านมาของโครงการนั้นปัญหาด้านสุขภาพใน
   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230