Page 84 - kpiebook67035
P. 84
การเสริมสร้างความมั่นคงทางสังคมของชาติเพื่ออนาคตประชาธิปไตยไทย
กรณีศึกษาการใช้ทุนทางวัฒนธรรม
เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมในพื้นที่เทศบาลตำาบลเชียงคาน
ไทยโรจน พวงมณี. (2559). การศึกษากระบวนการปรับเปลี่ยนอัตลักษณชุมชนท้องถิ่นสู่การ
เป็นพื้นที่การท่องเที่ยวเชิงศิลปะและวัฒนธรรม อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย. วารสารวิจัย
และพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. 11(36), 22-33.
นพรัตน วงศวิทยาพาณิชย. (2553). แนวคิด “พลเมืองเข้มแข็ง” สู่ ความเป็นประชาธิปไตย
แบบตัวแทนกับประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย.
2 (1), 91-118.
นิธิ เนื่องจำนงค. (2553). ตรรกะของแนวคิดคุณภาพสังคม (ของยุโรป): สู่สังคมยุคหลัง
รัฐสวัสดิการ ใน คุณภาพสังคมเพื่อคุณภาพประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
นิธิ เอียวศรีวงศ. (2536). ท่องเที่ยวบุญบั้งไฟในอีสาน: บุญบั้งไฟต้องรับใช้ชาวยโสธรไม่ใช่
ชาวยโสธรรับใช้บุญบั้งไฟ. กรุงเทพฯ: มติชน.
ประเวศ วะสี. (2542). ยุทธศาสตร์ชาติความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม ปาถกฐา
พิเศษ. กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน.
เปรมชัย จันทรจำปา. (2559). การจัดการทุนทางวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาเมืองในเขตเทศบาล
นครสงขลา (วิทยานิพนธปริญญาโท). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
พิสิฐ โอ่งเจริญ. (2560). ถอดบทเรียน: การบริหารโครงการภาครัฐ (ฉบับทดลองใช้). ทูเกเตอร
เอ็ดดูเทนเนอร.
พิเชฐ บัญญัติ. (2547). ภาวะภูมิคุ้มกันทางสังคมบกพร่อง: วิกฤติสังคมไทย. วารสารโรงพยาบาล
ชุมชน, 6(3), 41-42.
รังสรรค ธนะพรพันธ. (2546). ทุนวัฒนธรรม: วัฒนธรรมในระบบทุนนิยมโลก. กรุงเทพฯ: มติชน.
วชิราภรณ สังขทอง. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้สำหรับเครือข่ายทางสังคมเพื่อสร้างเสริม
ภูมิคุ้มกันทางสังคมสำหรับเด็กและเยาวชน (วิทยานิพนธปริญญาโท), จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย.
วันโชค หุ่นผดุงรัตน. (2564). การศึกษาทุนทางวัฒนธรรม และการมีส่วนร่วมของชุมชน ต่อการ
จัดการท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรมหย่อมบ้านวังไผ่ ตำบลท่าตอน อำเภอแม่อาย จังหวัด
เชียงใหม่. วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา, 11(3), 65-78.
สุรสิทธิ์ วชิรขจร. (2553). คุณภาพสังคม: จากยุโรปสู่ประเทศไทย ใน คุณภาพสังคมเพื่อคุณภาพ
ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
สุภีร สมอนา. (2558). ความเป็นพลเมืองของนักเรียนในโครงการโรงเรียนพลเมือง สถาบัน
พระปกเกล้า. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
82