Page 38 - kpiebook67033
P. 38

รายงานผลการประเมินสถานการณ์
          ความเป็ นประชาธิปไตยของประเทศไทย
                  ระดับการศึกษา
                 ส่วนระดับการศึกษานั้น พบว่า ผู้ตอบสัมภาษณ์ไม่ได้รับการศึกษา ร้อยละ 2.4  ระดับ
          ประถมศึกษา ร้อยละ 35.9  มัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 16.5  มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ร้อยละ
          20.8  อนุปริญญา/ปวส./ปวท. หรือเทียบเท่า ร้อยละ 7.3  ปริญญาตรี ร้อยละ 15.3  และสูงกว่า
          ปริญญาตรี ร้อยละ 1.8

                  อาชีพ
                 อาชีพของผู้ตอบสัมภาษณ์ พบว่า ไม่ได้ทำางาน/ว่างงาน ร้อยละ 4.1 นักเรียน/นิสิต/
          นักศึกษา ร้อยละ 3.6  ข้าราชการบำานาญ ร้อยละ 2.6  แม่บ้าน ร้อยละ 11.0  เกษตรกร ร้อยละ 20.0
          รับจ้างเอางานมาทำาที่บ้าน ร้อยละ 0.8  ค้าขายเล็กๆ น้อยๆ ร้อยละ 13.9  รับจ้างทั่วไป/คนงาน ร้อยละ
          12.0  พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน ร้อยละ 16.5  รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ/องค์กรของรัฐ ร้อยละ
          7.1 ทำางานองค์กรเอกชน (NGOs) ร้อยละ 0.1  เจ้าของกิจการร้านค้า/ธุรกิจขนาดกลาง ร้อยละ 7.4
          และอื่นๆ ร้อยละ 0.9

                  รายได้เฉลี่ยต่อเดือน
                 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ พบว่า มีการกระจายดังนี้ ไม่มีรายได้
          ร้อยละ 8.9  รายได้ต่อเดือนน้อยกว่า 3,001 บาท ร้อยละ 5.9  รายได้ฯ 3,001-5,000 บาท ร้อยละ
          10.7  รายได้ฯ 5,001-7,000 บาท ร้อยละ 12.3  รายได้ฯ 7,001-10,000 บาท ร้อยละ 18.8  รายได้ฯ
          10,001-15,000 บาท ร้อยละ 19.2  รายได้ฯ 15,001-20,000 บาท ร้อยละ 11.9  รายได้ฯ 20,001-
          25,000 บาท ร้อยละ 5.7  และรายได้ฯ มากกว่า 25,000 บาท ร้อยละ 6.6

                  สถานภาพสมรส
                 สำาหรับสถานภาพสมรสของผู้ตอบสัมภาษณ์ พบว่า เป็นโสดไม่เคยแต่งงาน ร้อยละ 23.6
          ผู้ที่แต่งงานแล้วและอยู่ด้วยกัน ร้อยละ 57.7  เคยแต่งงานแต่ปัจจุบันแยกกันอยู่ ร้อยละ 2.4  หย่า
          ร้อยละ 3.6หม้าย ร้อยละ 7.9  และผู้ที่อยู่ด้วยกันโดยไม่แต่งงาน ร้อยละ 4.8

                  ภาษาที่ใช้
                 ภาษาที่ใช้พูดประจำาระหว่างสมาชิกในครัวเรือนของผู้ตอบสัมภาษณ์ พบว่า ร้อยละ 52.9
          ระบุว่าใช้ภาษาไทยกลาง  ร้อยละ 8.3 ระบุว่าใช้ภาษาไทยล้านนา  ร้อยละ 24.3 ระบุว่าใช้ภาษาไทย
          อีสาน  ร้อยละ 10.0ระบุว่าใช้ภาษาไทยใต้  ร้อยละ 2.0 ระบุว่าใช้ภาษายาวี มาเลย์  ร้อยละ 0.1 ระบุ
          ว่าใช้ภาษาจีน  ร้อยละ 1.9 ระบุว่าใช้ภาษาชาวเขา  และร้อยละ 0.5 อื่นๆ (เช่น พม่า เขมร อังกฤษ
          เวียดนาม เป็นต้น)









           36
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43