Page 171 - kpiebook67026
P. 171

170     ผลการใช้กฎหมายรับรองเพศสภาพ : กรณีประเทศอาร์เจนตินา มอลตา และไอซ์แลนด์



            เรือนจ�าเดียวกับสตรีตามเพศก�าเนิด ด้วยเหตุนี้ ประเทศมอลตาจึงมีการแก้ไขปัญหา
            ดังกล่าวด้วยการตรากฎหมายรับรองว่า บุคคลซึ่งถูกกักขังในเรือนจ�าซึ่งมีการแบ่งแยก

            เพศสภาพบุคคลไว้ ย่อมมีสิทธิที่จะแสดงอัตลักษณทางเพศของตนว่ามีเพศสภาพใด
            โดยการใช้หนังสือรับรองยืนยันเพศสภาพของตนเอง เพื่อแสดงเจตนาที่จะด�ารงชีวิต

            ตามเพศสภาพนั้นตลอดระยะเวลาที่อยู่ในช่วงของการถูกกักขังในเรือนจ�าดังกล่าว
            (มาตรา 9(1)) นอกจากนั้น ในการบังคับใช้กฎหมายยังได้รับการดูแลและแก้ไขปัญหา

            จาก Human Rights Directorate อีกด้วย 198

                   อีกทั้งยังคงมีข้อกังวลในระดับนานาชาติช่องว่างของการจ่ายค่าจ้างที่แตกต่างกัน

            ระหว่างเพศชายและเพศหญิงที่ไม่เท่าเทียมกันทั้งรายชั่วโมงและรายเดือน และส่งผล
            ต่อค่าชดเชยรายได้อีกทอดหนึ่งท�าให้ผู้ที่ถูกรับรองเพศสภาพเป็นผู้หญิง จะยังคงอยู่ใน

            ช่วงว่างที่ไม่เท่าเทียมนี้ด้วยเช่นกัน 199

                   ผลกระทบในเชิงบวกต่อคุณภาพชีวิต


                   ตามรายงานของประเทศมอลตา พบว่า มีจ�านวนผู้มาใช้สิทธิในการยื่นค�าร้อง
            เพื่อขอรับรองเพศสภาพเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยก่อนหน้า ค.ศ. 2015 นั้น พบว่าผู้ประสงค

            จะใช้สิทธิจ�านวน 21 ราย คือ สตรีข้ามเพศ (trans women) ซึ่งในขณะนั้น การรับรอง

            เพศสภาพของประเทศมอลตาก�าหนดให้บุคคลต้องผ่านการท�าหมันก่อน และเมื่อมี
            การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการรับรองเพศสภาพตามกฎหมายใหม่โดยการตัดเงื่อนไขเรื่อง
            การท�าหมันออกไป พบว่าผู้มาใช้สิทธิขอรับรองเพศสภาพส่วนใหญ่เป็นบุรุษข้ามเพศ

            (trans men) นอกจากนั้น การมีกฎหมายรับรองเพศสภาพของประเทศมอลตาท�าให้

            รัฐก�าหนดนโยบายและวิธีปฏิบัติ ตลอดจนสร้างกระบวนการเรียนรู้เรื่องเหล่านี้ในสถาบัน
            การศึกษารวมถึงสถานเรือนจ�าเพื่อให้เกิดการปฏิบัติต่อบุคคลอย่างถูกต้อง นอกจากนั้น
            ประเทศมอลตายังได้สร้างหน่วยงานเพื่อให้บริการด้านสุขภาพแก่กลุ่มบุคคลข้ามเพศ

            เป็นการเฉพาะใน ค.ศ. 2018 โดยใช้รูปแบบการให้บริการบนพื้นฐานของการแจ้ง

            ความยินยอมของบุคคลนั้น (a model care based on informed consent) นับตั้งแต่นั้น


            198    Human Rights Directorate and Richard Köhler, statistics on self-determination
            law from Malta (email exchange), August – September 2020 in Richard Köhler,
            Self-determination models in Europe: Practical experiences. TGEU, 2022, p.22.
            199  ibid.
   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176