Page 329 - kpiebook67020
P. 329

328  การศึกษาการป้องกันวิกฤตสังคมในอนาคต




               จากการศึกษาสรุปประเด็นปัญหาวิกฤตในระบบสอบสวนคดีอาญาของไทย

        โดยแบ่งเป็นประเด็นปัญหาหลักในเชิงโครงสร้าง และประเด็นปัญหาประกอบ ดังนี้

               ประเด็นปัญหาในเชิงโครงสร้าง


               ระบบการสอบสวนคดีอาญาของไทย เป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
        คดีอาญา ซึ่งก�าหนดให้อ�านาจสอบสวนคดีอาญาแก่เจ้าพนักงานสอบสวนหรือต�ารวจ

        เป็นหลัก พนักงานสอบสวนมีอ�านาจด�าเนินการสอบสวน ค้นหาพยานหลักฐาน
        สรุปส�านวนคดี และท�าความเห็นได้เป็นอิสระ ปราศจากการตรวจสอบและถ่วงดุล

        จากฝ่ายอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างจากระบบสอบสวนคดีอาญาของต่างประเทศ แม้เป็นระบบ
        แยกอ�านาจสอบสวนคดีกับอ�านาจสั่งฟ้องคดีอาญาออกจากกัน เช่น อังกฤษ การสืบสวน

        สอบสวนคดีอาญาโดยเจ้าพนักงานต�ารวจที่ด�าเนินการเป็นทีมที่แบ่งความรับผิดชอบกัน
        เพื่อการสอบสวนคดีที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการปรึกษาขอค�าแนะน�าจากพนักงาน

        อัยการอย่างใกล้ชิด กล่าวได้ว่าแม้มีการแบ่งแยกอ�านาจสอบสวนและอ�านาจสั่งฟ้อง
        คดีออกจากกัน แต่พนักงานอัยการยังคงมีอ�านาจก�ากับดูแล ตรวจสอบ ให้ค�าแนะน�า

        การสอบสวนและท�าส�านวนคดีของพนักงานสอบสวน เพื่อตรวจสอบอ�านาจสอบสวน
        ให้อยู่ในกรอบของกฎหมาย (สันติ ผิวทองค�า, 2564)


               ในขณะที่พนักงานอัยการมีบทบาทพิจารณาสั่งฟ้องหรือไม่ฟ้องคดีโดยพิจารณา
        ส�านวนการสอบสวนและพยานหลักฐานจากเจ้าพนักงานสอบสวนเป็นหลัก การค้นหา

        ข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานเพื่อพิสูจน์ความผิดของผู้ถูกกล่าวจึงเป็นอ�านาจเบ็ดเสร็จ
        ของต�ารวจ ปราศจากการก�ากับดูแล ตรวจสอบและให้ค�าแนะน�าเพื่อการสอบสวน

        คดีอาญาที่มุ่งพิสูจน์ความผิดหรือความบริสุทธิ์ของผู้ต้องหาด้วยพยานหลักฐานอย่าง
        ครบถ้วน เพื่อการชั่งน�้าหนักในการพิจารณาสั่งฟ้องหรือไม่ฟ้อง โดยหลักพนักงานอัยการ

        จะรับทราบข้อเท็จจริง และพยานหลักฐานเพียงเท่าที่พนักงานสอบสวนน�าเสนอไว้
   324   325   326   327   328   329   330   331   332   333   334