Page 335 - kpiebook67015
P. 335
8
ผลสัมฤทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับการลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความเป็นธรรมที่เป็นรูปธรรม
ประเด็นการเปลี่ยนแปลง
ผลสัมฤทธิ์
ก่อนการดำเนินโครงการ หลังการดำเนินโครงการ
ผลเชิงสถิติ - ประชาชนและเกษตรกรในพื้นที่ - ประชาชนและเกษตรกรในพื้นที่
หมู่ 2,3,4,8,9,12,14 ขาดแคลนน้ำ หมู่ 2,3,4,8,9,12,14 อย่างน้อย
ทำการเกษตร และใช้ในชีวิต 26,357 ไร่ ได้มีน้ำใช้ทำการเกษตร
ประจำวัน และใช้ในชีวิตประจำวัน
- ประชาชนและเกษตรกรใช้น้ำจาก - มีการจัดสร้างธนาคารน้ำใต้ดิน
บ่อบาดาล ขาดแคลนน้ำในฤดูแล้ง เพื่อเติมน้ำให้กับแหล่งน้ำใต้ดิน
จำนวน 48 แห่ง
- มีปริมาณน้ำใต้ดินเพิ่มขึ้น ในเดือน
ก.ค. 64 มีปริมาณใต้ดินที่ลึก
34 เมตร โดยปริมาณน้ำเพิ่มขึ้นอย่าง
ต่อเนื่อง ส่งผลในใต้ดิน อยู่ระดับ
ผิวดิน ในช่วงเดือน ต.ค.-ธ.ค. 65
ผลเชิงคุณภาพ - ขาดการวางระบบบริหารจัดการน้ำ - มีการวางระบบบริหารจัดการโดย
ที่ดี ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในการ การตราเป็นข้อบัญญัติและข้อบังคับ
ใช้น้ำ เกิดสถานการณ์ “น้ำการเมือง” สำหรับใช้กับกลุ่มเกษตรกรผู้ใช้น้ำ
- มีการใช้ทรัพยากรน้ำใต้ดินอย่าง - กลุ่มเกษตรกรผู้ใช้น้ำได้เข้ามามี
ฟุ่มเฟือย รายใหญ่มีกำลังทรัพย์มาก ส่วนร่วมในการบริหารจัดการทำให้
ก็จะได้ใช้น้ำ รายเล็กก็ต้องต่อสู้ เกิดความโปร่งใส
ด้วยการกู้ยืมเงินเพื่อเจาะบ่อให้ลึก - ประชาชนและเกษตรกรมีความ
เท่ารายใหญ่ ตระหนัก ความเข้าใจในสถานการณ์
น้ำใต้ดิน
- ประชาชน เกษตรกร ส่วนราชการ
ร่วมมือกันจัดสร้างธนาคารน้ำใต้ดิน
เพื่อเติมทรัพยากรน้ำลงสู่ใต้ดิน เพื่อ
ไว้ใช้ยามฤดูแล้ง
รางวัลพระปกเกล้า’ 66